1 / 88

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ม.1

u0e27u0e34u0e17u0e22u0e32u0e28u0e32u0e2au0e15u0e23u0e4cu0e1eu0e37u0e49u0e19u0e10u0e32u0e19 u0e21.1 <br>u0e40u0e23u0e37u0e48u0e2du0e07u0e17u0e31u0e01u0e29u0e30u0e01u0e23u0e30u0e1au0e27u0e19u0e01u0e32u0e23u0e17u0e32u0e07u0e27u0e34u0e17u0e22u0e32u0e28u0e32u0e2au0e15u0e23u0e4c

Télécharger la présentation

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ม.1

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เราจะเรียนรู้วิทยาศาสตร์กันอย่างไร?เราจะเรียนรู้วิทยาศาสตร์กันอย่างไร? ทำไมเราต้องเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ? เรานำผลของวิทยาศาสตร์มาใช้ เราเรียกว่า “เทคโนโลยี”

  2. เทคโนโลยีในชีวิตประจำวันเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน

  3. สรุปวิทยาศาสตร์ส่งผลต่อชีวิตของเราอย่างไรสรุปวิทยาศาสตร์ส่งผลต่อชีวิตของเราอย่างไร สร้างสิ่งอำนวยสะดวกต่างๆในการดำรงชีวิต

  4. วิทยาศาสตร์คืออะไร ความรู้ของโลกธรรมชาติซึ่งอธิบายได้ ด้วยหลักฐานและความเป็นเหตุเป็นผลทางวิทยาศาสตร์

  5. ปรากฎการณ์ธรรมชาติที่น่าสนใจปรากฎการณ์ธรรมชาติที่น่าสนใจ 1 การเกิด สุริยุปราคา เกิดกลางวัน

  6. 2 การเกิดจันทรุปราคา B A B A คือ เงามืด และ B คือ เงามัว เกิดคืนวันพระจันทร์เต็มดวง

  7. คนไทยเรียก จันทรุปราคาว่า จันทรคราส (คนอีสานเรียกกบกินเดือน) ราหูอมจันทร์ คนไทยเรียกสุริยุปราคาว่า สุริยคราส เมื่อเกิดปรากฏการณ์ทั้งสอง คนไทยจะตีกลอง ให้เสียงดังเพื่อขับไล่ราหู ให้ออกไป เพราะกลัวราหูจะกินดวงจันทร์กับดวงอาทิตย์ เพราะขาดความรู้เรื่องวิทยาศาสตร์

  8. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1 การสังเกต จุดเริ่มต้นของกระบวนการวิทยาศาสตร์ 2 การระบุปัญหา และการตั้งปัญหา 3 การตั้งสมมติฐาน 4 การสำรวจตรวจสอบ การทดลอง การเก็บข้อมูล 5 การสร้างคำอธิบาย 6 การสรุปผลการทดลอง

  9. การสรุปผล การสังเกต กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การอธิบาย การตั้งปัญหา การทดลอง การตั้งสมมติฐาน

  10. กระบวนการวิทยาศาสตร์ 1 การสังเกต จุดเริ่มต้นของกระบวนการ

  11. การสังเกต เป็นสิ่งที่สำคัญมากในกระบวนการวิทยาศาสตร์ นักวิทยาศาสาตร์ที่ใช้การสังเกตสร้างสิ่งประดิษฐ์ กาลิเลโอ 1 ทำนาฬิกาลูกตุ้ม สังเกตการแกว่งของโคมไฟในโบสถ์ 2 ประดิษฐ์กล้องโทรทรรศน์ การสังเกตดวงดาวต่างๆ

  12. กาลิเลโอ

  13. การสังเกตนำไปสู่จุดเริ่มต้นของปัญหาการสังเกตนำไปสู่จุดเริ่มต้นของปัญหา วิธีการสังเกต 1 สังเกตในสิ่งที่ควรสังเกต 2 สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายที่ต้องการหาคำตอบ 3 สังเกตได้เร็วและคล่องแคล่ว

  14. กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

  15. 6 การสรุปผล 1 การสังเกต กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 5 การอธิบาย 2 การตั้งปัญหา 4 การทดลอง ตัวแปร 3 การตั้งสมมติฐาน ต้น ตาม ควบคุม

  16. การระบุปัญหา นักวิทยาศาสตร์เป็นคนช่างสงสัย อยากรู้อยากเห็น ชอบตั้งปัญหา และหาคำตอบเสมอ เซอร์ไอแซค นิวตัน

  17. สิ่งที่นิวตันสงสัย ทำไมแอปเปิ้ลตกลงดินเสมอ ทำไมไม่ลอยไปในอวกาศ ทำให้ค้นพบแรงโน้มถ่วง

  18. การตั้งสมมติฐาน การตั้งคำตอบไว้ล่วงหน้า หรือ การเดาคำตอบ 1 วิธีการตั้งสมมติฐาน ต้องเข้าใจปัญหาให้ถ่องแท้จึงตั้งสมมติฐานได้ 2 นิยมใช้วลี ถ้า ................แล้ว................ แต่ไม่จำเป็นเสมอไป บางทีก็ใช้ ถ้า.............ดังนั้น………… 3 สมมติฐานที่ตรวจได้โดยการทดลอง 4 สอดคล้องกับข้อเท็จจริงที่ได้จากการสังเกต

  19. โจทย์ การตั้งปัญหาและสมมติฐาน นายสมพร เดินไปในสนามหญ้าหน้าบ้าน เขาสังเกตเห็นว่าต้นหญ้าบริเวณ ที่อยู่กลางแจ้งเจริญเติบโตได้ดีกว่า บริเวณที่ไม่ได้รับแสงแดด

  20. ความสัมพันธ์ของปัญหาและสมมติฐานความสัมพันธ์ของปัญหาและสมมติฐาน สมมติฐาน ปัญหา ถ้าแสงแดดมีส่วนเกี่ยวข้อง กับการเจริญเติบโตของต้นหญ้า ดังนั้นต้นหญ้าบริเวณที่ไม่ได้รับ แสงแดดก็จะไม่เจริญหรือตายไป แสงแดดมีส่วนเกี่ยวข้องกับการ เจริญเติบโตของต้นหญ้าหรือไม่ แสงแดดเกี่ยวข้องกับการเจริญ เติบโตของต้นหญ้า

  21. โจทย์ การตั้งปัญหาและสมมติฐาน นายดำเลี้ยงปลาสวยงามไว้โดยให้อาหารผสมฮอร์โมนเขาสังเกตว่า ปลาที่เลี้ยงมีสีสันสวยงามงาม

  22. ความสัมพันธ์ของปัญหาและสมมติฐานความสัมพันธ์ของปัญหาและสมมติฐาน ปัญหา สมมติฐาน ถ้าฮอร์โมนมีผลต่อสีของปลา สวยงามดังนั้น ปลาที่เลี้ยงด้วย ฮอร์โมนย่อมมีสีสวยกว่าปลา ที่ไม่ได้เลี้ยง ด้วยฮอร์โมน ฮอร์โมนมีผลต่อสีของปลาสวย งามหรือไม่ ฮอร์โมนมีผลต่อสีของปลาสวยงาม

  23. โจทย์ การตั้งปัญหาและสมมติฐาน สมชายสูบบุหรี่ทุกวัน วันหนึ่งสมชายป่วยด้วยโรคมะเร็งปอดสมชายสังเกต ว่าคนที่สูบบุหรี่มักเป็นมะเร็งปอด

  24. ความสัมพันธ์ของปัญหาและสมมติฐานความสัมพันธ์ของปัญหาและสมมติฐาน ปัญหา สมมติฐาน บุหรี่เป็นสาเหตุของโรคมะเร็งปอด หรือไม่ ถ้าบุหรี่เป็นสาเหตของมะเร็งปอด ดังนั้นคนที่สูบบุหรี่จะเป็นโรค มะเร็งปอด บุหรี่เป็นสาเหตุของโรคมะเร็งปอด

  25. โจทย์ การตั้งปัญหาและสมมติฐาน มานีสังเกตเห็นว่าเพื่อนๆของเธอนั้นทั้ง ผู้หญิงและผู้ชายชอบใส่น้ำหอม

  26. ความสัมพันธ์ของปัญหาและสมมติฐานความสัมพันธ์ของปัญหาและสมมติฐาน ปัญหา สมมติฐาน ผู้หญิงชอบใส่น้ำหอมมากว่า ผู้ชายหรือไม่ ผู้หญิงชอบใส่น้ำหอมมากว่าผู้ชาย

  27. โจทย์ การตั้งปัญหาและสมมติฐาน นายสินธรไปซื้อไข่ไก่ในตลาดมามีทั้งไข่เก่าและไข่ไก่ใหม่เมื่อกลับถึง บ้านนายสินธรนำไข่ไก่ไปลอยน้ำ เพื่อทดสอบว่าไข่ใดเป็นไข่เก่า ไข่ใดเป็นไข่ใหม่

  28. ความสัมพันธ์ของปัญหาและสมมติฐานความสัมพันธ์ของปัญหาและสมมติฐาน ปัญหา สมมติฐาน ไข่ใหม่ลอยน้ำ ไข่เก่าจมน้ำ ไข่ใหม่กับไข่เก่าต่างกันอย่างไร ไข่ใหม่จมน้ำ ไข่เก่าลอยน้ำ

  29. วีดีโอ การทดลอง ไข่จม ไข่ลอย

  30. ไข่ใหม่ ช่องอากาศน้อยจึงจม

  31. 4 3 2 1

  32. สรุปเรื่องการตั้งปัญหาและสมมติฐานสรุปเรื่องการตั้งปัญหาและสมมติฐาน 1 นักเรียนจะตั้งสมมติฐานแบบใดก็ได้ เพราะสมมติฐานเป็นแนวทางในการทดสอบว่าเป็นจริงหรือไม่ ถ้าเป็นจริงก็ยอมรับสมมติฐานนั้น ถ้าไม่จริงก็ยกเลิกสมมติฐานนั้นไป แล้วหาสมมติฐานที่จริงมาใช้

  33. การสำรวจตรวจสอบ การทดลองหรือเก็บข้อมูล เมื่อตั้งสมมติฐานแล้วก็ต้องทำการทดลอง เพื่อพิสูจน์ว่าสมมติฐานจริงหรือไม่ ก่อนการทดลองเราต้องออกแบบการทดลองก่อน

  34. การออกแบบการทดลอง 1 จะดำเนินการทดลองอย่างไร 2. จะใช้วัสดุอุปกรณ์อะไรบ้าง 3 จะเก็บข้อมูลอย่างไร 4 ต้องควบคุมอะไรบ้างให้เหมือนกัน 5 ต้องเปลี่ยนอะไรให้เหมาะสม

  35. กิจกรรมที่ 1.3 1 ปัญหา คือ ไข่ใหม่กับไข่เก่าต่างกันอย่างไร ไข่ใหม่จมน้ำ ไข่เก่าลอยน้ำ 2 สมมติฐานคือ ไข่เก่าจมน้ำ ไข่ใหม่ลอยน้ำ 3 การทดลอง ไข่ 3.1 กำหนดตัวแปร ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ตัวแปรควบคุม การลอย การจม ของไข่ สายพันธุ์ของไข่ ปริมาณน้ำ น้ำ 3.2 ออกแบบการทดลอง 1 เทน้ำใส่แก้ว 2 นำไข่ลอยในน้ำ 3 บันทึกผลการทดลอง

  36. ตารางบันทึกผลการทดลองตารางบันทึกผลการทดลอง เปลือกไม่เรียบ มีนวล เปลือกเรียบ ลื่น มีนวล จมน้ำเอียงตั้งขึ้น จากก้นแก้ว45 องศา จมน้ำตะแคงที่ก้นแก้ว

  37. 4 การอภิปรายผลการทดลอง ไข่ที่เก็บไว้หลายวันจะเกิดการเปลี่ยนแปลงไป มีแก๊สเกิดขึ้นภายในฟอง แก๊สที่เกิดขึ้นจะลอยไปรวมกันที่ด้านมนของฟองไข่ แก๊สเบากว่าน้ำไข่จึง พยายามลอยตัวขึ้นแต่ไข่ไม่อาจลอยเหนือน้ำได้ทั้งฟองเพราะส่วนที่เป็น เนื้อไข่ยังคงมีอยู่และส่วนนี้หนักกว่าน้ำจึงจมอยู่ 5 การสรุปผลการทดลอง สมมติฐานที่ถูกต้อง คือ ไข่ใหม่จมน้ำ ไข่เก่าลอยน้ำ

  38. คำชี้แจง จงออกแบบการทดลอง ไข่ลอย ไข่จม นำไข่ไก่ ใหม่ กับ ไข่ไก่เก่า มาลอยน้ำ 1 บีกเกอร์ 2 ไข่ไก่ใหม่ ไข่ไก่เก่า 3 น้ำ 2 ใช้อุปกรณ์อะไรบ้าง 3 จะเก็บข้อมูลอย่างไร บันทึกผลลงในตาราง ปริมาณน้ำ 4 ต้องควบคุมอะไรบ้างให้เหมือนกัน 5 ต้องเปลี่ยนอะไรบ้างให้ เหมาะสม

  39. การทดสอบที่เที่ยงตรงในวิทยาศาสตร์การทดสอบที่เที่ยงตรงในวิทยาศาสตร์ ต้องควบคุมตัวแปร 1 ตัวแปรต้น หรือ ตัวแปรอิสระ คือ สาเหตุที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง 2 ตัวแปรตาม คือ ผลการทดลองที่ได้จากตัวแปรต้น 3 ตัวแปรควบคุม คือ สิ่งที่ต้องควบคุมให้เหมือนกันทั้ง 2 ชุดการทดลอง

  40. การทดลองเรื่อง ไข่จมไข่ลอย ตัวแปรต้น คือ ไข่เก่า กับ ไข่ใหม่ ( เพราะทำให้ผลการทดลองที่ได้ต่างกัน) ตัวแปรตาม คือ การลอย หรือ จม ของไข่ไก่ ตัวแปรควบคุม คือ ปริมาณน้ำ น้ำที่ใช้ อุปกรณ์ที่ใช้

  41. ตัวอย่างที่1 เด็กชายมังกรต้องการศึกษาว่าดินต่างชนิดกันมีผลต่อความสูงของต้นพืชหรือไม่ ทำการทดลองโดยปลูกต้นถั่วเขียว ลงในกระถางที่มีขนาดเท่าๆกัน โดยกระถางแต่ละใบใส่ดิน 3 ชนิดคือ ดินเหนียว ดินร่วน ดินทราย รดน้ำปกติ ทำการทดลองเป็นเวลาสองสัปดาห์

More Related