1 / 29

ประเด็นการ สนทนา

การจัดการ เครือข่ายความร่วมมือ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี ศ. ดร. ชาติชาย ณ เชียงใหม่ ผู้อำนวยการ สถาบันส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี. ประเด็นการ สนทนา. 1. บริบท และความจำเป็น ของการจัดการ เครือข่า ย ความร่วมมือ 2. ปรัชญา หลักการของความร่วมมือ ในการจัดการ

kyle-lara
Télécharger la présentation

ประเด็นการ สนทนา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดการเครือข่ายความร่วมมือการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีศ. ดร. ชาติชาย ณ เชียงใหม่ผู้อำนวยการสถาบันส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี

  2. ประเด็นการสนทนา 1. บริบทและความจำเป็นของการจัดการ เครือข่ายความร่วมมือ 2. ปรัชญา หลักการของความร่วมมือ ในการจัดการ 3. อุปสรรคของการจัดการความร่วมมือ 4. แนวการจัดการเครือข่ายความร่วมมือ

  3. ความจำเป็นต้องมีเครือข่ายความร่วมมือในการส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดีความจำเป็นต้องมีเครือข่ายความร่วมมือในการส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 1. มีข้อจำกัดในการเข้าถึงความรู้ ข้อมูลข่าวสาร 2. ความจำเป็นต้องร่วมกันทำความเข้าใจปัญหา และ กำหนด ทางเลือกใหม่ๆของการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี 3. ความปรารถนาที่จะผลักดันการเปลี่ยนแปลงใหม่ๆ

  4. หลักการของการทำงานแบบเครือข่ายความร่วมมือหลักการของการทำงานแบบเครือข่ายความร่วมมือ 1. ทุกฝ่ายมีเกียรติ ศักดิ์ศรี สิทธิ โอกาสที่เท่าเทียมกัน 2. เป็นการทำงานแนวราบ ไม่มีการสั่งการจากฝ่ายใ 3. เป็นกระบวนการเรียนรู้โดยผ่านการทำงานร่วมกัน

  5. ประโยชน์ของเครือข่ายความร่วมมือประโยชน์ของเครือข่ายความร่วมมือ 1. ตัดสินใจได้เร็ว แก้ปัญหาได้เร็วท่ามกลางความไม่แน่นอนและความสลับซับซ้อนของปัญหา 2. ลดค่าใช้จ่ายการบริหารราชการและผู้ใช้บริการ 3. ให้บริการแก่กลุ่มเป้าหมายได้ตรงความต้องการ 4. เป็นการสร้างทุนทางสังคมให้แก่หน่วยงานและประเทศ

  6. E = MC2 M = Mastery of each individual (Human Capital) C = Connections that join individuals or units into a community (Social Capital) C = Communication that flows through those connections E = Effectiveness of teams and/or organizations แนวคิดการจัดการแบบเครือข่าย

  7. ปรัชญาของความร่วมมือ • ส่งเสริมให้ผู้ปฏิบัติงานงานมีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดและข้อมูลข่าวสารให้มากที่สุด • ลดเงื่อนไขและปัจจัยปิดกั้นการมีส่วนร่วมคิดของทุกคน • ให้ข้อมูลข่าวสารแก่ผู้ปฏิบัติงานให้มากที่สุด

  8. ปรัชญาของความร่วมมือ • ส่งเสริมจูงใจให้ผู้ปฏิบัติงาน คิดค้นสิ่งใหม่ ๆ • กระตุ้นให้ผู้ปฏิบัติงานรู้สึกเป็น เจ้าของผลลัพธ์ของงานที่ดี ไม่ใช่เป็นเจ้าของความคิด

  9. หลักพื้นฐาน 4 ประการของกระบวนการร่วมมือกันอย่างสร้างสรรค์ • ทุกคนที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม • ทำให้ “เห็น” ข้อมูลข่าวสาร • ข้อมูลข่าวสารที่เคลื่อนย้ายได้ • เพลินและสนุกกับการคิดและทำร่วมกัน

  10. หลักการ 3 ประการในการจัดการกระบวนการร่วมมือกันอย่างสร้างสรรค์ • เพิ่มประสิทธิผลของทุกคนที่มีส่วนร่วม • เพิ่มประสิทธิผลของทีม • ทำให้ข้อมูลข่าวสารเคลื่อนที่ได้เสรี

  11. ปัจจัย 5 ประการในการจัดการกระบวนการร่วมมือกันอย่างสร้างสรรค์ • มีจุดมุ่งหมายร่วมกัน • สมาชิกเครือข่ายมีอิสระ • เชื่อมโยงกันตามความสมัครใจ • มีผู้นำหลายคน • มีความสัมพันธ์ติดต่อกันทุกระดับ

  12. แนวทางการจัดการแบบเครือข่ายแนวทางการจัดการแบบเครือข่าย 1. การแสวงหาจุดมุ่งหมายร่วมกัน (Purpose) 2. การกำหนดความเชื่อพื้นฐานร่วมกัน (Principle) 3. การกำหนดความสามารถที่ต้องมีร่วมกัน (Capability) 4. การกำหนดบทบาทของแต่ละฝ่ายและความสัมพันธ์ที่มีต่อกัน ความรับผิดชอบต่อกัน (Concept)

  13. แนวทางการจัดการแบบเครือข่ายแนวทางการจัดการแบบเครือข่าย 5. การกำหนดกฏ ระเบียบที่ยึดโยงความสัมพันธ์ที่มีต่อกัน (Structure) 6. การกำหนดโครงการ กิจกรรมที่ควรทำร่วมกัน (Practice)

  14. กระบวนทัศน์ใหม่ทางการบริหารที่สนันสนุนการทำงานแบบเครือข่ายกระบวนทัศน์ใหม่ทางการบริหารที่สนันสนุนการทำงานแบบเครือข่าย เดิม การจัดองค์กรเป็นปัจจัยที่ไม่มีความ สำคัญต่อความสามารถในการแข่งขัน ใหม่ การจัดองค์กรเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญที่สุด ต่อความสามารถในการแข่งขัน

  15. กระบวนทัศน์ใหม่ทางการบริหารที่สนับสนุนการทำงานแบบเครือข่ายกระบวนทัศน์ใหม่ทางการบริหารที่สนับสนุนการทำงานแบบเครือข่าย เดิม สายการบังคับบัญชาเป็น เครื่องมือที่ดีที่สุดในการควบคุม ใหม่ ความเกี่ยวพันมีส่วนร่วมแนวขวางเป็น กลไกการควบคุมที่ดีที่สุด

  16. กระบวนทัศน์ใหม่ทางการบริหารที่สนับสนุนการทำงานแบบเครือข่ายกระบวนทัศน์ใหม่ทางการบริหารที่สนับสนุนการทำงานแบบเครือข่าย เดิม ผู้บริหารระดับสูงและผู้เชี่ยวชาญ เป็นส่วนเพิ่มคุณค่าที่สำคัญที่สุด ใหม่ ผู้ปฏิบัติงานทั้งหมดเป็นส่วนเพิ่ม คุณค่ามากที่สุดแก่หน่วยงาน

  17. กระบวนทัศน์ใหม่ทางการบริหารที่สนับสนุนการทำงานเครือข่ายกระบวนทัศน์ใหม่ทางการบริหารที่สนับสนุนการทำงานเครือข่าย เดิม การบังคับบัญชาแนวดิ่งเป็น หัวใจของประสิทธิผล ใหม่ กระบวนการทำงานแนวราบเป็น หัวใจของประสิทธิผล

  18. กระบวนทัศน์ใหม่ทางการบริหารที่สนับสนุนการทำงานแบบเครือข่ายกระบวนทัศน์ใหม่ทางการบริหารที่สนับสนุนการทำงานแบบเครือข่าย เดิม ควรจัดองค์กรตามหน้าที่ ใหม่ ควรจัดองค์กรตามผลผลิต ลูกค้า ผู้รับบริการ

  19. กระบวนทัศน์ใหม่ทางการบริหารที่สนับสนุนการทำงานแบบเครือข่ายกระบวนทัศน์ใหม่ทางการบริหารที่สนับสนุนการทำงานแบบเครือข่าย เดิม ผู้จัดการที่เก่งเป็นหัวใจของ ประสิทธิผล ใหม่ ภาวะผู้นำที่ดีเป็นหัวใจของ ประสิทธิผล

  20. กระบวนทัศน์ใหม่ทางการบริหารที่สนับสนุนการทำงานแบบเครือข่ายกระบวนทัศน์ใหม่ทางการบริหารที่สนับสนุนการทำงานแบบเครือข่าย เดิม โครงสร้าง เทคโนโลยี กำหนด กระบวนการและการปฏิบัติ ใหม่ จุดมุ่งหมาย หลักการความเชื่อกำกับพฤติกรรม สำนึก ความสามารถของพนักงาน การจัดความสัมพันธ์ การปฏิบัติ

  21. ความร่วมมือที่ดีกับหน่วยงานอื่นความร่วมมือที่ดีกับหน่วยงานอื่น ลักษณะของหน่วยงานที่มี • แม้ว่าขนาดใหญ่แต่ก็ทำอะไรรวดเร็ว • มีการพูดคุยถกแถลงที่เปิดเผย ซื่อตรง เพื่อขจัดความคิดเห็นที่ไม่เข้าท่า • มีการคิดร่วมกันและยอมรับนับถือการทำดี ของบุคคลแก่หน่วยงาน

  22. 8 ขั้นตอนของกระบวนการ จัดการเครือข่ายความร่วมมือ • 1. ทำให้รู้สึกถึงความเร่งด่วนที่ต้องมีเครือข่าย • ประเมินสถานการณ์ด้านต่างๆที่มีผลกระทบต่อความสำเร็จตามวัตถุประสงค์ของเครือข่ายความร่วมมือ • ชี้ให้เห็นวิกฤตและโอกาสทางเลือกของความสำเร็จ • 2. ก่อรูปกลุ่มแกนนำเครือข่ายความร่วมมือ • รวมตัวกันของคนและกลุ่มที่มีพลังพอที่จะขับเคลื่อนความร่วมมือ • ทำกิจกรรมร่วมกันของแกนนำในลักษณะทีม

  23. 3. สร้างจินตภาพ / วิสัยทัศน์และกลยุทธ์ • หล่อหลอมวิสัยทัศน์เครือข่ายความร่วมมือ • กำหนดกลยุทธ์ไปสู่ความสำเร็จของวิสัยทัศน์ • 4. แผ่ขยายการรับรู้และยอมรับในวิสัยทัศน์ใหม่ • ใช้ทุกช่องทางในการสื่อวิสัยทัศน์ใหม่และกลยุทธ์ • กลุ่มแกนนำทำเป็นตัวอย่าง

  24. 5. ขับเคลื่อนการกระทำระหว่างหน่วยงาน5. ขับเคลื่อนการกระทำระหว่างหน่วยงาน • ลดอุปสรรค • เปลี่ยนระบบและโครงสร้างที่บั่นทอนการเปลี่ยนแปลง • ส่งเสริม “ความคิดใหม่ การกระทำใหม่ที่ดี” • 6. ชื่นชมความสำเร็จทีละเล็กละน้อย • กำหนดและชื่นชมการปรับปรุงผลงานที่เริ่มเกิดขึ้น • ชื่นชมสรรเสริญคนที่ปรับปรุงตนเอง • สร้างกระแสความเชื่อในความสำเร็จแม้จะเป็นเรื่องเล็ก

  25. 7. ผนึกกำลังผลความสำเร็จก่อตัวเป็นคลื่นของการเปลี่ยนแปลง • เมื่อความคิดเริ่มเคลื่อนเปลี่ยน รีบปรับระบบโครงสร้างและนโยบายให้คล้อยตาม • ตอกย้ำความเชื่อมั่นด้วยโครงการใหม่ และแกนนำการเปลี่ยนแปลงหน้าใหม่ • 8. ปลูกฝังแนวทางการทำงานแบบเครือข่ายให้เป็นวัฒนธรรม • ผลงานที่ดีมาจากความร่วมมือและการยึดจุดมุ่งหมายร่วมกัน ผนวกกับการมีภาวะผู้นำที่ดีและการจัดการที่ดี • เชื่อมโยงให้เห็นว่าพฤติกรรมความร่วมมือระหวางหน่วยงานนำไปสู่ความสำเร็จของวัตถุประสงค์ร่วมกัน • คิดค้นกลไกและมรรคที่พัฒนาภาวะผู้นำและการสร้างผู้นำเครือข่ายความร่วมมือรุ่นใหม่

  26. อุปสรรคของการจัดการความร่วมมืออุปสรรคของการจัดการความร่วมมือ ผู้คนรู้สึกว่าเป็นเรื่องยาก ไม่มีแรงพลังพอที่จะทำให้เครือข่ายความร่วมมือเป็นไปอย่างต่อเนื่อง ไม่ได้กำหนดการทำงานและความสำเร็จทีละขั้น ขาดความวิริยะในการผลักดันให้มีความร่วมมืออย่างต่อเนื่อง ไม่ได้ปลูกฝัง “ความร่วมมือกัน”ให้เป็นวัฒนธรรมของหน่วยงาน

  27. อุปสรรคของการจัดการความร่วมมืออุปสรรคของการจัดการความร่วมมือ ผู้คนนิ่งนอนใจ เห็นว่าเครือข่ายความร่วมมือเป็นเรื่องที่ไม่จำเป็นเร่งด่วน ขาดแรงผลักดันที่มากพอจากกลุ่มผู้บริหาร ระดับสูง ขาดวิสัยทัศน์ที่มีพลังชี้นำการเปลี่ยนแปลง ไม่สามารถสื่อสารวิสัยทัศน์ให้รู้และยอมรับร่วมกันระหว่างหน่วยงาน

  28. แนวทางเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงานแนวทางเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน • บริหารงานแบบมีส่วนร่วมของผู้ปฏิบัติงาน • ผู้บริหารมีหน้าที่ในการเป็นผู้อำนวยความสะดวก • สร้างวิสัยทัศน์ของกลุ่มผู้ปฏิบัติงาน • ผู้ปฏิบัติงานมีส่วนร่วมแข็งขันในกระบวนการทำงาน • ทุกคนเป็นกำลังสำคัญของกลุ่ม • ผู้ปฏิบัติงานเห็นและเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างงาน

  29. มีการรับฟังและติชมผลงานมีการรับฟังและติชมผลงาน • งานที่ทำสร้างความรู้สึกพึงพอใจและความสำเร็จแกผู้ปฏิบัติ • มีการทบทวนสะท้อนความคิดถึงสิ่งที่ได้ทำไปแล้ว • มีการเรียนรู้ผลการทำงานเพื่อปรับปรุงทักษะและผลงานอย่างต่อเนื่อง • สมาชิกกลุ่มทุกคนสามารถพัฒนาทักษะและความเชี่ยวชาญของตนอย่างต่อเนื่อง

More Related