520 likes | 756 Vues
สร้างทุนทางปัญญา พัฒนาคุณธรรม สร้างสรรค์สังคม. พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Commerce). ศูนย์บริการวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี-ศรีวัฒนา. ความหมายของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์. 1. ประโยชน์และข้อจำกัดของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์. 2. ประเภทของธุรกิจ. 3. รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์.
E N D
สร้างทุนทางปัญญา พัฒนาคุณธรรม สร้างสรรค์สังคม พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Commerce) ศูนย์บริการวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี-ศรีวัฒนา
ความหมายของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ความหมายของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 1 ประโยชน์และข้อจำกัดของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 2 ประเภทของธุรกิจ 3 รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โครงสร้างของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ 4 5 Contents
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ • การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic commerce) หรือ อี คอมเมิร์ซ (E-Commerce) • กระบวนการซื้อ-ขาย แลกเปลี่ยนผลิตภัณฑ์และข้อมูลข่าวสาร โดยอาศัยคอมพิวเตอร์และระบบเครือข่าย • หมายความรวมถึง • การติดต่อสื่อสารระหว่างธุรกิจกับธุรกิจ ธุรกิจกับผู้บริโภค • การทำรายการธุรกิจ การชำระเงิน การจัดส่งสินค้า • การให้บริการลูกค้า และการสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า
พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ • เพื่อลดค่าใช้จ่าย และเพื่มประสิทธิภาพขององค์กร • เพื่อลดบทบาทความสำคัญขององค์ประกอบทางธุรกิจลง วัตถุประสงค์(Object) • เพื่อลดข้อจำกัดของระยะทางและเวลา ในการทำธุรกรรมลงได้
ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ ตัวอย่างเช่น นายสมชายเปิดร้านขายสินค้าโอท็อป ผ่านทางอินเทอร์เน็ต ทำให้ลูกค้าที่อยู่ต่างประเทศ สามารถเข้ามาดูตัวอย่างสินค้า และติดต่อซื้อขายกันได้ โดยผ่านทางสื่ออิเล็กทรอนิกส์
การดำเนินธุรกิจ E-Commerce • การทำประชาสัมพันธ์ (broadcast) • การโต้ตอบกันทางธุรกิจ (interaction) • การเชื่อมโยงข้อมูลของผู้ซื้อเพื่อให้ได้ข้อมูลอย่างสมบูรณ์ (integration) • เป็นระบบที่ผู้ซื้อและผู้ขายติดต่อถึงกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว • เข้าถึงลูกค้าได้เป็นจำนวนมาก • มีต้นทุนการทำธุรกรรมต่อหน่วยที่ต่ำกว่าในรูปแบบเดิม
ประโยชน์ของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ประโยชน์ของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มีประโยชน์ร่วมกันทั้งต่อผู้บริโภค ผู้ประกอบการ เศรษฐกิจและสังคม ซึ่งสรุปได้ 3 ประเด็นหลัก 1. ประหยัดค่าใช้จ่าย ช่วยลดค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นทั้งภายในและภายนอกองค์กร เช่น ค่าพิมพ์เอกสาร ค่าโฆษณาประชาสัมพันธ์ 2. ไม่มีข้อจำกัดด้านสถานที่ สามารถเข้าถึงลูกค้าได้ทั่วโลก 3. ไม่มีข้อจำกัดด้านเวลา สามารถทำธุรกรรมผ่านระบบอัตโนมัติได้ตลอดเวลา
ประโยชน์ของ E-Commerce สำหรับผู้ประกอบการ • ขยายตลาดจากตลาดท้องถิ่นไปสู่ตลาดระหว่างประเทศ • ลดต้นทุนการดำเนินการทางการตลาด โดยเฉพาะเอกสาร และค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสาร • ลดสินค้าคงคลังและค่าใช้จ่ายในช่องทางการจำหน่าย • เพิ่มความเชี่ยวชาญของธุรกิจได้มากขึ้น เช่น ร้านขายของเล่นสุนัข www.dogtoys.com • ประโยชน์อื่น ๆ เช่น สร้างภาพลักษณ์ขององค์กร เพิ่มช่องทางการให้บริการลูกค้า ฯลฯ
ประโยชน์ของ E-Commerce สำหรับผู้บริโภค • สามารถเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ต่างๆ ได้สะดวกตลอด 24 ชม. • มีโอกาสในการเปรียบเทียบและเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ได้มากขึ้น รวมทั้งเลือกผู้ขายได้ด้วย • ได้ผลิตภัณฑ์ราคาถูก คุณภาพตามต้องการ โดยไม่เสียเวลาและไม่เสียค่าเดินทาง • ได้รับข้อมูลเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ในเวลาอันสั้นและโต้ตอบได้เร็ว • สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้บริโภครายอื่น ๆ เพื่อให้มีข้อมูลประกอบการตัดสินใจซื้อได้มากขึ้น
ประโยชน์ของ E-Commerce สำหรับสังคมและชุมชน • มีการทำงานที่บ้าน และซื้อผลิตภัณฑ์จากที่บ้าน ไม่ต้องเดินทาง ทำให้ลดปัญหาการจราจรและมลภาวะ • คุณภาพชีวิตของประชาชนดีขึ้น เนื่องจากมีโอกาสเลือกซื้อผลิตภัณฑ์คุณภาพดี ราคาถูก • ประชากรในแต่ละประเทศสามารถเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีขายในประเทศของตนรวมทั้งโอกาสในการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ • หน่วยราชการให้ความสำคัญกับการเผยแพร่ข่าวสารแก่ชุมชนมากขึ้น รวมทั้งการจัดให้มีบริการผ่านทาง Internet
ข้อจำกัดของ E-Commerce • ระบบการรักษาความปลอดภัย ความน่าเชื่อถือของข้อมูล และมาตรฐานของระบบ • ความเร็วของอินเตอร์เน็ตและจำนวนช่องทางการติดต่อสื่อสาร • ยังต้องมีการพัฒนาระบบและโปรแกรมคอมพิวเตอร์ • ผู้บริโภคต้องการความเป็นส่วนตัว (Privacy) • กฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ยังไม่สมบูรณ์ • ต้องอาศัยบุคลากรที่มีความรู้แบบ Multidisciplinary
ประเภทของธุรกิจ จำแนกตามรูปแบบการปฏิสัมพันธ์กับธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจำแนกได้เป็น 3 ประเภทดังนี้ • 1. ธุรกิจแบบบริคและมอร์ต้า (Brick and Mortar Business) • เป็นธุรกิจแบบดั้งเดิมที่มีสถานที่จำหน่ายเช่นร้านค้าแต่จะไม่มีการทำธุรกิจอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งธุรกิจ • ส่วนใหญ่จะเป้นในลักษณะนี้แต่ด้วยความก้าวหน้าของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ธุรกิจบริคและมอร์ต้า • จึงมีแนวโน้มที่จะเปลี่ยนรูปแบบไปเป็นธุรกิจแบบคลิกและมอร์ต้า
ประเภทของธุรกิจ • 2. ธุรกิจแบบคลิกและมอร์ต้า (Click and Mortar Business) • เป็นธุรกิจที่มีร้านค้าแบบบริคและมอร์ต้ารวมทั้งร้านค้าออนไลน์ที่ช่วยสนับสนุนการดำเนินธุรกิจปกติ • ซึ่งบางธุรกิจแบบคลิกและมอร์ต้ามีเพียงเว็บไซต์ที่นำเสนอสินค้า และระบุสถานที่จัดจำหน่าย และมี • ธุรกิจจำนวนมากที่มีเว็บไซต์เพื่อการซื้อขายสินค้าออนไลน์ ตัวอย่างธุรกิจประเภทนี้ เช่น • ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร้าน S&P เป็นต้น
ประเภทของธุรกิจ ธุรกิจแบบคลิกและมอร์ต้า : www.sandponline.com
ประเภทของธุรกิจ • 3. ธุรกิจแบบคลิกและคลิก (Click and Click Business) • เป็นธุรกิจไม่มีสถานที่หรือร้านค้าเพื่อการจำหน่ายสินค้า ผู้ซื้อไม่สามาถจะเดินทางไปเลือกซื้อสินค้าได้ • เนื่องจากร้านค้ามีเฉพาะบนเว็บเท่านั้น ถึงแม้ว่าธุรกิจคลิกและคลิกจะมีสถานที่ทำการและคลังสินค้าก็ตาม • แต่การติดต่อทางธุรกิจกับลูกค้าจะดำเนินการผ่านเว็บไซต์เท่านั้น • ตัวอย่างธุรกิจประเภทนี้เช่น amazon.com, misslily.com
ประเภทของธุรกิจ ธุรกิจแบบคลิกและคลิก : www. misslily.com
ประเภทของธุรกิจ • จำแนกประเภทธุรกิจจากหมวดหมู่ของสินค้าและการให้บริการหลักๆ สามารถแบ่งประเภทธุรกิจได้ดังนี้ • ธุรกิจการสื่อสาร • มีการประยุกต์ใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ โดยเฉพาะอินเทอร์เน็ต ตัวอย่างเช่น การโทรศัพท์ผ่านทางอินเทอร์เน็ต และการประชุมทางไกล • ธุรกิจการโฆษณา • ใช้เว็บเพจบนอินเทอร์เน็ตเป็นสื่อในการประชาสัมพันธ์สินค้าและบริการทำให้ข้อมูลส่งถึงลูกค้าที่เป็นกลุ่มเป้าหมายได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ยังมีการแลกเปลี่ยนแบนเนอร์ (banner) ระหว่างธุรกิจด้วยกัน
ประเภทของธุรกิจ • ธุรกิจการซื้อและจัดส่งสินค้า • จำหน่ายสินค้าในลักษณะข้อมูลทั้งที่เป็น Digital และไม่อยู่ในรูปDigitalการจัดส่งสินค้าที่เป็นดิจิทัล สามารถจัดส่งผ่านสื่อ Internetโดยให้ผู้ซื้อดาวน์โหลด ช่วยในการจัดส่งสินค้ามีความรวดเร็ว ประหยัด • ธุรกิจการศึกษาทางไกล • เป็นธุรกรรมที่ได้รับความนิยมเพิ่มมากขึ้น ผู้เรียนสามารถศึกษาได้จากทุกที่และทุกเวลาที่ต้องการ สามารถทบทวนบทเรียนได้โดยที่ไม่ต้องเดินทางไปยังสถานศึกษา
ประเภทของธุรกิจ • ธุรกิจฐานข้อมูลออนไลน์ • ให้บริการด้านข้อมูลและสารสนเทศผ่านสื่อ Internet เช่น ข่าวสาร บทความ งานวิจัย • ธุรกิจการประมูลสินค้า • เป็นธุรกิจที่เปิดโอกาสให้ผู้ซื้อกำหนดและแข่งขันราคาสินค้าด้วยตนเอง เช่น eBay และ mWebเป็นต้น • ธุรกิจศูนย์การค้าอิเล็กทรอนิกส์ • เป็นการซื้อขายสินค้าและให้บริการผ่านเครือข่าย Internetเป็นการรวบรวมสินค้าต่างๆ จากผู้ที่ต้องการขายสินค้าให้ผู้ซื้อได้เลือกสินค้าที่หลากหลาย มีลักษณะคล้ายกับศูนย์แสดงสินค้า
ประเภทของธุรกิจ • ธุรกิจด้านการเงิน • ให้บริการเกี่ยวกับการติดต่อและทำธุรกรรมเกี่ยวกับการเงิน เช่น บัตรเครดิต • ธุรกิจให้บริการด้านการท่องเที่ยว • ให้ข้อมูลและทำธุรกรรมต่างๆ เช่น การจองตั๋วเครื่องบิน โรงแรม • ธุรกิจซื้อขายหุ้นผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ • ให้บริการข้อมูลเกี่ยวกับหลักทรัพย์ ข้อคิดเห็นและคำแนะนำด้านการลงทุน ประเภทของธุรกิจ
รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ สามารถจำแนกตามลักษณะของกิจกรรมที่ดำเนินงานระหว่างองค์การและบุคคลได้หลายประเภท จำแนกได้เป็น 5 ประเภทหลักดังนี้ • 1. ธุรกิจกับธุรกิจ (Business to Business : B to B , B2B • เป็นการทำธุรกรรมด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ที่มุ่งเน้นให้บริการกับลูกค้าที่เป็นองค์การธุรกิจด้วยกัน • ตัวอย่างเช่นผู้ผลิต-ผู้ผลิต ผู้ผลิต-ผู้ส่งออก • การทำธุรกิจลักษณะนี้เป็นการทำธุรกรรมจำนวนมาก มีมูลค่าการซื้อ-ขายสูง • รูปแบบการชำระเงินส่วนใหญ่จะผ่านธนาคาร
รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ www.foodmarketexchange.com ตลาดกลางทางอิเลกทรอนิกส์ของอุตสาหกรรมอาหาร
รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ • 2. ธุรกิจกับลูกค้า (Business to Custom : B to C , B2C • เป็นธุรกรรมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ระหว่างผู้ขายที่เป็นองค์การธุรกิจกับลูกค้าแต่ละคน อาจเป็นการค้าปลีก • หรือเหมาโหล มีมูลค่าการซื้อขายสินค้าจำนวนไม่สูง ระบบการชำระเงินส่วนใหญ่จะผ่านบัตรเครดิต • สินค้าอาจเป็นแบบจับต้องได้ เช่นหนังสือ,ดอกไม้ หรือจับต้องไม่ได้ เข่น เพลง,ซอฟต์แวร์ • ตัวอย่าง B2C เช่น www.chulabook.com www.pizza.co.th
รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ www.thaigem.com
รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ • 3. ธุรกิจกับภาครัฐ (Business to Government : B to G , B2G • เป็นการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างธุรกิจเอกชนกับภาครัฐ ได้แก่ การประมูลออนไลน์ (e-auxtion) • การจัดซื้อจัดจ้าง (e-procument) • ตัวอย่างเช่นwww.moc.go.th หรือการจดทะเบียนการค้าและการนำสินค้า • เข้าออกผ่านกรมศุลกากร www.customs.go.th
รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ www.customs.go.th
รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ • 4. ลูกค้ากับลูกค้า (Customer to Customer : C to C , C2C • เป็นการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างผู้บริโภคด้วยกัน ซึ่งการแลกเปลี่ยนและซื้อขายสินค้านั้น • อาจทำผ่านเว็บไซต์ การประมูลสินค้า • ซึ่งผู้ค้าแต่ละคนจะนำมาฝากขายไว้กับเว็บไซต์ที่ให้บริการ • ตัวอย่างเช่น www.ebay.com, www.pramool.com
รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ www.pramool.com
รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ • 5. ภาครัฐกับประชาชน (Government to Customer : G to C , G2C • กิจกรรมที่เกิดขึ้นผ่านอิเล็กทรอนิกส์ประเภทนี้ไม่มีวัตถุประสงค์เพื่อการค้า • แต่เน้นการให้บริการกับประชาชนโดยผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ • ซึ่งเป็นนโยบายหนึ่งของรัฐบาล เช่น การคำนวณและชำระภาษีออนไลน์ของกรมสรรพากร www.rd.go.th และ • งานบริการด้านจดทะเบียนของกระทรวงมหาดไทย www.mahadthai.com
รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์รูปแบบของพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ www.rd.go.th
ประเภทของสินค้า • แบ่งตามลักษณะของสินค้าและบริการ สามารถจำแนกได้เป็น 3 ประเภท • 1. สินค้าที่มีลักษณะเป็นข้อมูลดิจิทัล (Digital Products) • เป็นสินค้าที่จับต้องไม่ได้ (intangible goods) เช่น ซอฟต์แวร์ เพลง ภาพยนตร์ • การจัดส่งสินค้าข้อมูลดิจิทัลจะให้ผู้ซื้อดาวน์โหลดผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต
ประเภทของสินค้า • 2. สินค้าที่ไม่ใช่ข้อมูลดิจิทัล (Non-Digital Products) • เป็นสินค้าที่สามารถจับต้องได้ (tagible goods) เช่น อุปกรณ์คอมพิวเตอร์, เครื่องใช้ไฟฟ้า • การจัดส่งสินค้าประเภทนี้นิยมส่งในรูปพัสดุภัณฑ์ หรือจัดส่งตามสถานที่ที่ลูกค้ากำหนด • 3. สินค้าบริการ • ได้แก่ การท่องเที่ยว โรงแรม ร้านค้า จองตั๋วเครื่องบิน
โครงสร้างของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์โครงสร้างของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โครงสร้างหลักของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทำให้เกิดการค้าขายบนเว็บไซต์ • 1. หน้าร้าน (Storefront) • - เป็นส่วนประกอบที่สำคัญของระบบการค้าแบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ใช้สำหรับแสดงข้อมูลสินค้าทั้งหมดของร้านค้า • - รวมถึงระบบค้นหาข้อมูลสินค้า นโยบายการค้าและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับบริษัท • - ซึ่งส่วนหน้าร้านนี้จะต้องมีการออกแบบให้ดีให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย
โครงสร้างของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์โครงสร้างของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ www.se-ed.com
โครงสร้างของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์โครงสร้างของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ • 2. ระบบตะกร้ารับคำสั่งซื้อ (Shopping Cart System) • เป็นระบบที่ต่อเนื่องจากหน้าร้าน เมื่อลูกค้าต้องการสั่งซื้อสินค้า • โดยคลิกที่ข้อความสั่งซื้อ” หรือสัญลักษณ์รูปตะกร้า หรือรถเข็นก็จะปรากฏรายการสินค้าที่ลูกค้าต้องการในหน้าตะกร้า • พร้อมกับคำนวณค่าใช้จ่ายทั้งหมด ซึ่งลูกค้าสามารถปรับเปลี่ยนรายการสินค้าหรือปริมาณที่สั่งได้ • หากลูกค้าตัดสินใจเลือกสินค้าที่ต้องการแล้วก็จะเข้าสู่ขั้นตอนการชำระเงินต่อไป
โครงสร้างของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์โครงสร้างของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ www.chulabook.com
โครงสร้างของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์โครงสร้างของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ • 3. ระบบการชำระเงิน (Payment System) • - การค้าแบบอิเล็กทรอนิกส์มีวิธีการชำระเงินหลายรูปแบบเช่นการโอนเงินเข้าบัญชีธนาคารการชำระด้วยบัตรเครดิตการส่งธนาณัติเป็นต้น • - ซึ่งผู้ขายจะต้องมีทางเลือกให้ลูกค้าหลายทางเลือก • - เพื่อความสะดวกของลูกค้าเช่นชำระโดยบัตรเครดิตนิยมในกลุ่มผู้ซื้อชาวต่างประเทศ • - ซึ่งการชำระเงินด้วยบัตรเครดิตร้านค้าต้องติดต่อกับธนาคารเพื่อขอเป็นร้านค้ารับบัตรเครดิต
โครงสร้างของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์โครงสร้างของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ • 3. ระบบการชำระเงิน (Payment System) ต่อ • - หากมีลูกค้าซื้อสินค้าชำระเงินด้วยบัตรเครดิตจะมีการส่งข้อมูลหมายเลขบัตรเครดิตไปตรวจสอบกับเครื่องคอมพิวเตอร์ของธนาคารแห่งนั้น • - โดยการส่งข้อมูลบัตรเครดิต จะมีระบบรักษาความปลอดภัยที่เข้ารหัสข้อมูลบัตรเครดิตที่ไม่สามารถมีผู้อื่นมาขโมยไปใช้ได้ • - วิธีที่นิยมในปัจจุบันจะใช้ระบบรักษาความปลอดภัยที่เรียกว่า Secure Socket Layer(SSL)
โครงสร้างของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์โครงสร้างของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
ตัวอย่างผู้ให้บริการระบบตัดบัตรเครดิตตัวอย่างผู้ให้บริการระบบตัดบัตรเครดิต • เป็นระบบตัดบัตรเครดิตแบบง่ายๆ โดยจะมีเว็บเพจสำหรับกรอกหมายเลขบัตรเครดิต ให้ร้านค้าเชื่อมต่อโดยตรง • โดยร้านค้าจะมีหน้าที่ส่งค่าตัวแปรต่างๆ อย่างเช่น มูลค่าสินค้า หมายเลขประจำตัวร้านค้า มาให้ดำเนินการเท่านั้น • ร้านค้าซึ่งพัฒนาระบบฐานข้อมูลสินค้าและฐานข้อมูลลูกค้าเรียบร้อยแล้วสามารถ เข้ามาใช้บริการชำระเงินผ่านบัตรเครดิตกับ EPAYLINK ได้ทันที
ตัวอย่างผู้ให้บริการระบบตัดบัตรเครดิตตัวอย่างผู้ให้บริการระบบตัดบัตรเครดิต www.thaiepay.com
กระบวนการทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กระบวนการทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ • 1. การค้นหาข้อมูล • - ขั้นตอนแรกของการซื้อสินค้าเป็นการค้นหาข้อมูลสินค้าที่ต้องการ • - นำข้อมูลสินค้าแต่ละร้านค้า มาวิเคราะห์เปรียบเทียบกัน โดยเครื่องมือที่ลูกค้าใช้ในการค้นหาเว็บไซต์ที่นิยม คือ Search engine เช่น www. Google.com, yahoo.com เป็นต้น • - ประเด็นที่สำคัญสำหรับร้านค้าคือการประชาสัมพันธ์เว็บไซต์ให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย • - ซึ่งอาจโฆษณาโดยใช้แบนเนอร์ การแลกเปลี่ยนลิงค์ และการลงทะเบียนกับ Search engine
กระบวนการทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กระบวนการทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ • 2. การสั่งซื้อสินค้า • - เมื่อลูกค้าเลือกสินค้าที่ต้องการแล้ว จะนำรายการสินค้าที่ต้องการเข้าสู่ระบบตะกร้า • - จะมีการคำนวณค่าใช้จ่ายทั้งหมด โดยลูกค้าสามารถปรับเปลี่ยนรายการสินค้าและปริมาณที่สั่งได้ • 3. การชำระเงิน • - วิธีการชำระเงินขึ้นอยู่กับความสะดวกของลูกค้าว่าจะเลือกวิธีไหน
กระบวนการทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กระบวนการทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ • 4. ระบบสมัครสมาชิก (Member System) • - เป็นการบันทึกข้อมูลลูกค้าที่ต้องการสมัครเป็นสมาชิก • - เพื่อรับข่าวสาร รวมถึงลูกค้าที่สั่งซื้อสินค้า • เพื่อประโยชน์ในการจัดส่งข้อมูลและสินค้าได้อย่างถูกต้อง • ร้านค้ายังสามารถนำข้อมูลลูกค้าไปใช้ประโยชน์ในระบบบริหารลูกค้าสัมพันธ์ (Customer relationship management :CRM)
กระบวนการทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กระบวนการทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ • 5. ระบบขนส่ง (Transportation System) • - เป็นระบบการจัดส่งสินค้าให้ถึงลูกค้า โดยต้องมีทางเลือกหลายทางให้กับลูกค้า ซึ่งขึ้นอยู่กับลูกค้า • - ค่าใช้จ่ายในการขนส่งแต่ละวิธีจะไม่เท่ากัน อาจใช้ EMS, DHL, FedEx, UPS จัดการให้ • - ร้านค้าต้องมีการเชื่อมโยงกับเว็บไซต์บริษัทขนส่ง เพื่อความสะดวกในการคำนวณค่าใช้จ่ายในการขนส่งด้วย
กระบวนการทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์กระบวนการทางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ • 6. ระบบติดตามคำสั่งซื้อ (Order Tracking System) • - เป็นระบบติดตามคำสั่งซื้อของลูกค้าโดยเมื่อเสร็จสิ้นการสั่งซื้อแต่ละครั้งลูกค้าจะได้หมายเลขคำสั่งซื้อ (order number) - หากลูกค้าต้องการทราบว่าสินค้าที่สั่งซื้ออยู่ในขั้นตอนใดก็สามารถใช้หมายเลขดังกล่าวเข้าไปตรวจสอบสถานะของสินค้าได้ • - จะมีรายงานผลสถานะการรับสินค้าแล้ว เป็นต้น • - ระบบนี้จะทำให้ลูกค้าเกิดความเชื่อถือและมั่นใจว่าจะได้รับสินค้าอย่างแน่นอน
โครงสร้างของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์โครงสร้างของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ • 4. การส่งมอบสินค้า • เมื่อลูกค้ากำหนดวิธีการชำระเงินเรียบร้อยแล้ว จะเข้าสู่การเลือกวิธีขนส่งสินค้า • ซึ่งการส่งมอบสินค้าอาจจัดส่งให้กับลูกค้าโดยตรง • การใช้บริการบริษัทขนส่งสินค้าหรือส่งผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น การดาวน์โหลดเพลง การให้หมายเลขเพื่อไปรับสินค้าหรือบริการปลายทาง เป็นต้น
โครงสร้างของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์โครงสร้างของระบบพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ • 5. การให้บริการหลักการขาย • หลังจากเสร็จสิ้นการสั่งซื้อแต่ละครั้ง ร้านค้าต้องการมีบริการหลังการขายให้กับลูกค้า • ซึ่งอาจจะมีการติดต่อกับลูกค้าผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น อีเมล เว็บบอร์ด
สร้างทุนทางปัญญา พัฒนาคุณธรรม สร้างสรรค์สังคม Thank You ! ศูนย์บริการวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี-ศรีวัฒนา