1 / 37

กรรมพันธุ์ พันธุกรรม พันธุศาสตร์ ลักษณะทางพันธุกรรม : ลักษณะเฉพาะที่ถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปยัง

การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม. กรรมพันธุ์ พันธุกรรม พันธุศาสตร์ ลักษณะทางพันธุกรรม : ลักษณะเฉพาะที่ถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปยัง อีกรุ่นหนึ่งต่อๆไป - สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด , แต่ละ species จะมีลักษณะรูปร่าง และโครงสร้าง

kyra-cline
Télécharger la présentation

กรรมพันธุ์ พันธุกรรม พันธุศาสตร์ ลักษณะทางพันธุกรรม : ลักษณะเฉพาะที่ถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปยัง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม กรรมพันธุ์ พันธุกรรม พันธุศาสตร์ ลักษณะทางพันธุกรรม : ลักษณะเฉพาะที่ถ่ายทอดจากรุ่นหนึ่งไปยัง อีกรุ่นหนึ่งต่อๆไป -สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด , แต่ละ species จะมีลักษณะรูปร่าง และโครงสร้าง เฉพาะตัวที่แตกต่างจากสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น - สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกัน , species เดียวกันมีลักษณะแตกต่างกัน น้อยกว่า สิ่งมีชีวิตต่างชนิด

  2. - ลักษณะที่แตกต่างบางลักษณะสังเกตได้ง่าย เช่น รูปร่าง สีผม ติ่งหู • ลักษณะบางลักษณะสังเกตได้ยาก เช่น หมู่เลือด สติปัญญา • บางลักษณะปรากฏในรุ่นลูก • บางลักษณะไม่ปรากฏในรุ่นลูก

  3. ความแปรผันทางพันธุกรรม (Genetic variation ) 1.ความแปรผันต่อเนื่อง ( Continuous variation ) มีลักษณะดังนี้ - ไม่สามารถแยกความแตกต่างได้เด่นชัด - ความแตกต่างของลักษณะจะปรากฏเป็นลำดับต่อเนื่องกัน - ถูกควบคุมโดย gene หลายคู่ - สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อการแสดงออก - มีความเกี่ยวข้องทางด้านปริมาณ - กราฟแสดงความถี่ของลักษณะที่แตกต่างเป็นรูปโค้งปกติ - ตัวอย่าง ความสูง น้ำหนัก สติปัญญา ความสามารถในการ ให้ ผลผลิต

  4. 2. ความแปรผันไม่ต่อเนื่อง ( Discontinuous variation ) มีลักษณะดังนี้ - มีความแตกต่างชัดเจน - ถูกควบคุมโดย gene น้อยคู่ - สิ่งแวดล้อมมีผลต่อการแสดงออกน้อยมาก - มีความเกี่ยวข้องทางด้านคุณภาพ - กราฟความถี่ของลักษณะที่แตกต่าง จะได้กราฟรูปแท่ง - ตัวอย่าง หมู่เลือด ลักยิ้ม ติ่งหู การห่อลิ้น

  5. คำศัพท์ที่ควรรู้ 1. Gamete 2. Gene 3. Allele P P homozygous for the dominant allele a a homozygous for the recessive allele B b heterozygous recessive allele , dominant allele

  6. 4. Genotype การเขียน TT , Tt , tt หรือ T/T , T/t , t/t Genotype มี 2 แบบ คือ - homozygous genotype – homozygous dominant - homozygous recessive - heterozygous genotype 5. Phenotype 6. Dominant 7. Recessive

  7. ลักษณะทางพันธุกรรมกับสิ่งแวดล้อมลักษณะทางพันธุกรรมกับสิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อลักษณะทางพันธุกรรมมาก – น้อยขึ้น กับขั้นตอนที่ทำให้เกิดลักษณะนั้นๆ เช่น - ถ้าลักษณะทางพันธุกรรมนั้นเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายอย่าง ลักษณะนั้นมโอกาสได้รับอิทธิพลจากสิ่งแวดล้อมมาก เช่น ความสูง สติปัญญาปริมาณการให้น้ำนมของโค - ถ้าลักษณะทางพันธุกรรมนั้นเป็นลักษณะที่เกิดจากปฏิกิริยาภายในเซลล์ความผิดปกติภายในเซลล์ สิ่งแวดล้อมจะมีอิทธิพลน้อย เช่นลักษณะผิวเผือก ตาบอดสี หมู่เลือด

  8. ประวัติและผลงานของเมนเดลประวัติและผลงานของเมนเดล

  9. Unit factor เมนเดลพบว่า ลักษณะต่างๆของถั่วลันเตาถูกควบคุมโดยพันธุกรรม 2 หน่วย ธรรมชาติของต้นถั่วลันเตา 1. อายุสั้น ปลูกง่าย ผลดก เมล็ดมาก 2. มีลักษณะแตกต่างกันอย่างชัดเจน 3. โครงสร้างดอกไม่เปิดโอกาสให้มีการผสมข้ามต้น ความสำเร็จของเมนเดล 1. ลักษณะที่เมนเดลศึกษาถูกควบคุมโดย gene 1 คู่ 2. ลักษณะที่เมนเดลศึกษาจะแตกต่างกันอย่างชัดเจน 3. ใช้พืชที่หาได้ง่าย 4. ใช้พ่อ – แม่พันธุ์เป็นพันธุ์แท้ 5. เป็นนักคณิตศาสตร์

  10. การทดลองของเมนเดล

  11. สรุปการทดลองของเมนเดลสรุปการทดลองของเมนเดล 1. รุ่นพ่อ – แม่ แทนด้วย P = Parential generation รุ่นลูก ,, F1 = first filial generation รุ่นหลาน ,,F2 = second generation 2. สิ่งที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม เมนเดลเรียก factor 3. ลูก F1จะมีลักษณะที่ปรากฏเหมือนกันหมด 4. ลูกเกิดจากการรวมตัวของ gene จาก พ่อ – แม่ อย่างละครึ่ง 5. เรียกลักษณะที่ปรากฏในรุ่น F1 ว่า Dominant เรียกลักษณะที่ปรากฏในรุ่น F2ว่า Recissive 6. ลักษณะที่ปรากฏในรุ่น F1: ลักษณะที่ปรากฏในรุ่น F2 = 3 : 1

  12. กฎของเมนเดล • Law of segregation P TT x tt gamete PTt x Tt gamete T T t t T t T t

  13. 2. Law of independent assortment เซลล์สืบพันธุ์ที่แยกจากกันช่วงการสร้างเซลล์สืบพันธุ์สามารถรวมกันใหม่ได้อย่างอิสระ ดังนี้ P Tt x Tt gamete F1 TT Tt Tt tt T t T t

  14. Test – cross เป็นการผสมเพื่อที่จะทดสอบ genotype ของสิ่งมีชีวิตว่าเป็น พันธุ์แท้ หรือพันธุ์ทาง โดยนำไปผสมกับ Homozygous recessive ดังนี้ เมล็ดกลม - RR หรือ Rr เมล็ดกลม x rr เมล็ดกลม x rr เมล็ดกลม เมล็ดกลม : เมล็ดขรุขระ . . เมล็ดกลม = RR 1 : 1 เมล็ดกลม = Rr

  15. Back cross เป็นการผสมพันธุ์โดยการนำลูกผสม F1 กลับไปผสมกับ พ่อ หรือ แม่ การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะเดียว ( Monohybrid cross )

  16. การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม 2 ลักษณะ( Dihybrid cross ) - เป็นการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม โดยพิจารณาลักษณะ ของสิ่งมีชีวิต 2 ลักษณะพร้อมกัน - ในการพิจารณาหาสัดส่วน genotype ,phenotype ทำได้ 2 วิธี ดังนี้ 1. Punnet Squares ให้ R = geneที่ควบคุมลักษณะเมล็ดกลม r = gene ที่ควบคุมลักษณะเมล็ดขรุขระ Y = gene ที่ควบคุมลักษณะเมล็ดสีเหลือง y = gene ที่ควบคุมลักษณะเมล็ดสีเขียว

  17. P ถั่วเมล็ดกลมสีเหลือง x ถั่วเมล็ดขรุขระสีเขียว RRYY rryy gamete Ry ry F1 RrYy F1xF1 RrYy x RrYy Gamete R Y - RY R Y - RY y - Ry y - Ry r Y - rY r Y - rY y - ry y - ry

  18. สรุป 1. genotype มี 9 ชนิด 2. อัตราส่วน genotype 1 : 2 : 2 : 4 : 1 : 2 : 1 : 2 : 1 3. phenotype มี 4 ชนิด 4. อัตราส่วน phenotype 9 : 3 : 3 : 1

  19. 2. Branching system P ถั่วเมล็ดกลม – เหลือง x ถั่วเมล็ดขรุขระ - เขียว RRYY rryy gamete RY ry F1 RrYy F1 x F1 RrYyRrYy RrRr YyYy gamete ¼ RR : 2/4 Rr : ¼ rr ¼ YY : 2/4 Yy : ¼ yy

  20. 3. โดยการใช้สูตร -จำนวน ชนิด gamete = 2n -จำนวน ชนิด genotype = 3n -จำนวน ชนิด phenotype = 2n

  21. Aa BB Cc • Aa Bb Cc DD Ee FF

  22. รูปแบบการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมรูปแบบการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม 1. ถ่ายทอดลักษณะแบบ Complete Dominant เป็นการถ่ายทอดลักษณะโดย gene เด่นสามารถข่ม gene ด้อยได้ สมบูรณ์ เป็นไปตามกฎเมนเดล ดังนี้ F1 เป็นลักษณะเด่นหมด F2 เป็นลักษณะเด่น : ลักษณะด้อย = 3 : 1 = 9 : 3 : 3 : 1

  23. 2. ถ่ายทอดลักษณะแบบ Incomplete Dominant 2.1 การถ่ายทอดลักษณะสีดอกบานเย็น F1 genotype = Aa สีชมพู หมด F2 genotype AA : Aa : aa = 1 : 2 : 1 phenotype สีแดง : สีชมพู : สีขาว = 1 : 2 : 1

  24. 2.2 การถ่ายทอดสีขนของไก่พันธุ์ Andalusion blue

  25. 2.3 การถ่ายทอดลักษณะสีขนของโค 2.4 การถ่ายทอดลักษณะสีดอกลิ้นมังกร

  26. การถ่ายทอดลักษณะแบบ Co – dominant ในกรณีนี้ gene ทั้งสองที่ควบคุมลักษณะจะไม่ข่มซึ่งกันและ กัน แต่สามารถแสดงความเด่นได้เท่าๆกัน จึงปรากฏ ลักษณะออกมาร่วมกัน เช่น หมู่เลือด ABO alleleที่เกี่ยวข้องมี IA , IBและ i ปกติ gr A มี genotype IA IA, IA i gr B ,, IB IB , IB i gr AB ,, IA IB gr ii มีgenotype ii

  27. การถ่ายทอดลักษณะแบบ Over dominant เกิดจาก allele ในสภาพ heterozygous จะแสดงลักษณะ Phenotype เหนือกว่า allele ในสภาพ homozygous ของ พ่อ – แม่ เช่น P TT สูง 3 ฟุต tt สูง 1 ฟุต F Tt สูง 6 ฟุต

  28. Multiple allele กลุ่มallele ที่มี gene เกินกว่า 2 แบบขึ้นไป ที่ควบคุมการ แสดงออกของลักษณะใดลักษณะหนึ่งโดยที่ gene ดังกล่าว มีตำแหน่งอยู่บน chromosome ที่เป็น homologous กัน ต.ย 1. พันธุกรรมของหมู่เลือด ABO หมู่เลือด ABO มี gene ควบคุม 3 allele คือ IA, IB และ ii IA = allele ที่ควบคุมการสร้าง antigen A IB = allele ที่ควบคุมการสร้าง antigen B

More Related