90 likes | 313 Vues
โครงสร้างและระบบการบริหารจัดการ ภัยพิบัติและการเตือนภัย. วันที่ 23 กรกฎาคม 2555. กรณีเหตุการณ์ปกติ. การบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย. การบริหารจัดการสาธารณภัยอื่นๆ. คณะกรรมการ ยุทธศาสตร์เพื่อวาง ระบบ การบริหาร จัดการทรัพยากร น้ำ (กยน.). คณะกรรมการนโยบายน้ำ และ อุทกภัย แห่งชาติ (กนอช.).
E N D
โครงสร้างและระบบการบริหารจัดการโครงสร้างและระบบการบริหารจัดการ ภัยพิบัติและการเตือนภัย วันที่ 23 กรกฎาคม 2555
กรณีเหตุการณ์ปกติ การบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย การบริหารจัดการสาธารณภัยอื่นๆ คณะกรรมการ ยุทธศาสตร์เพื่อวาง ระบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ (กยน.) คณะกรรมการนโยบายน้ำและ อุทกภัยแห่งชาติ (กนอช.) คณะกรรมการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ (กปภ.ช) คณะอนุฯ 5 คณะ + • คณะอนุกรรมการติดตาม • และประเมินผลการบริหาร • จัดการน้ำและอุทกภัย • - คณะอนุกรรมการฯ คณะกรรมการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย (กบอ.) ศูนย์อำนวยการร่วมป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ(ศอร.ปภ.ช.) สำนักงานนโยบายและบริหาร จัดการน้ำและอุทกภัยแห่งชาติ (สบอช.) หน่วยงานของรัฐ องค์กรการกุศล/อาสาสมัคร/ภาคเอกชน กอ.ปภ.กทม. กอ.ปภ.จ.76 จังหวัด ศปภ. เขต 18 เขต สำนักวิชาการและวิเคราะห์โครงการ ศูนย์ปฏิบัติการบริหารจัดการน้ำ สำนักงานเลขาธิการ สำนักติดตามและ ประเมินผล สำนักส่งเสริมการมี ส่วนร่วมและมวลชนสัมพันธ์ กอ.ปภ.อ. 878 อำเภอ เขต กทม.50 เขต กอ.ปภ.อบต. 5,765 แห่ง กอ.ปภ.เมืองพัทยา กอ.ปภ.ท. 2,010 แห่ง
กรณีภาวะวิกฤตระดับ 1-3 คณะกรรมการป้องกันและ บรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ (กปภ.ช) คณะอนุฯ 5 คณะ ศูนย์อำนวยการร่วมป้องกัน และบรรเทาสาธารณภัย แห่งชาติ (ศอร.ปภ.ช) กบอ/สบอช - ข้อมูลน้ำ - ข้อมูลการ พยากรณ์ -ข้อมูลการ เตือนภัย ฯลฯ War Room (ปภ) หน่วยงาน ของรัฐ องค์กรการกุศล/อาสาสมัคร/ภาคเอกชน กอ.ปภ. กทม. กอ.ปภ.จ.76 จังหวัด ศปภ. เขต 18 เขต กอ.ปภ.อ. 878 อำเภอ เขต กทม.50 เขต กอ.ปภ.อบต. 5,765 แห่ง กอ.ปภ.เมืองพัทยา กอ.ปภ.ท. 2,010 แห่ง
กรณีเกิดภาวะวิกฤตระดับ 4 มาตรา 31 นรม. หรือ รอง นรม. ที่ได้รับมอบหมาย • บริหารจัดการตามแผน • ปภ.ชาติ พ.ศ. 2553-2557 • ใช้อำนาจตามกฎหมายป้องกัน • และบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 กองบัญชาการป้องกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ (บก.ปภ.ช) (นรม.) ผบ. ปภ. ชาติ (รมว.มท.) รอง ผบ. (ปลัด มท.) ผอ. กลาง (อธิบดี ปภ..) หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง + ศูนย์เตือนภัยฯ คณะอนุกรรมการติดตามและ ประเมินผลการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย ศอร.ปภ.ช. ส่วนอำนวยการและประสานงาน ส่วนวิชาการและวางแผน ศูนย์บัญชาการ เหตุการณ์ส่วนหน้า ส่วนประชาสัมพันธ์/ประสานงาน/ รักษาความปลอดภัย ส่วนงบประมาณและการเงิน ส่วนปฏิบัติการ ส่วนสนับสนุน หน่วยงานของรัฐ องค์กรการกุศล/อาสาสมัคร/ภาคเอกชน กอ.ปภ.จ.76 จังหวัด กอ.ปภ.กทม. ศปภ. เขต 18 เขต เขต กทม.50 เขต กอ.ปภ.อ. 878 อำเภอ กอ.ปภ.อบต. 5,765 แห่ง กอ.ปภ.เมืองพัทยา กอ.ปภ.ท. 2,010 แห่ง
โครงสร้างกองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (บก.ปภ.ช.) กองบัญชาการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ (บก.ปภ.ช.) คณะที่ปรึกษา (คณะอนุกรรมการติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย) ศูนย์เตือนภัยฯ ส่วนประชาสัมพันธ์/ประสานงาน/ รักษาความปลอดภัย ส่วนอำนวยการ และประสานงาน ศอร.ปภ.ช. ส่วนวิชาการและ วางแผน ส่วนสนับสนุน ส่วนงบประมาณและการเงิน ส่วนปฏิบัติการ รมว.สำนักนายกฯ, โฆษก รบ. บก.ปภ.ช. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รมว.สำนักนายกฯ, เลขานายก, ฝ่ายเลขา ศอร.ปภ.ช. (ปลัด มท.) รมว.วท. , รมว.ทส., รมว.อก. , รมว.ยธ.ฯ ปลัดกระทรวงหลัก ในประเภทของภัย, เลขาฯ สบอช. รมว.มท. ,รมว.กห.,รมว.กษ., ปมท. ,ปกห.,ป.กษ. รมว.คค. ,รมว.ตปท. , รมว.พณ.ฯ ปคค. , ปตปท. , ปพณ.ฯ รมว.คค. ,รมว.ตปท. , รมว.กษ. , รมว.พณ. ปคค. , ปตปท. , ปกษ. ปพณ. • ศูนย์รับเรื่องร้องเรียน • ฝ่ายบรรเทาสาธารณภัยกลาโหม/เหล่าทัพ • ฝ่ายการแพทย์ฉุกเฉินและสาธารณสุข • ฝ่ายรักษาความปลอดภัยในภาวะวิกฤต • ฝ่ายบรรเทาสาธารณภัยพลเรือน • ฝ่ายบรรเทาสธารณภัย สนง.ตำรวจแห่งชาติ • ฝ่ายประสานการปฏิบัติองค์กรภาคประชาชน • ฝ่ายคมนาคมและขนส่ง • ฝ่ายประสาน ตปท. • ฝ่ายสื่อสาร • ฝ่ายสนับสนุนทั่วไป • ฝ่ายงบประมาณ • ฝ่ายการเงินและบัญชี • ฝ่ายจัดหา • ฝ่ายรับบริจาค • ฝ่ายวิเคราะห์และติดตามสถานการณ์ • ฝ่ายกำกับและติดตามและประเมินผล • ฝ่ายจัดสรรและติดตามทรัพยากร • ฝ่ายกฎหมาย
โครงสร้างศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ส่วนหน้าโครงสร้างศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ส่วนหน้า ศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ส่วนหน้า ส่วนอำนวยการ ส่วนวางแผน/วิเคราะห์/ ประเมินสถานการณ์ ส่วนปฏิบัติการ ส่วนสนับสนุน ส่วนบริหารและการเงิน ส่วนประชาสัมพันธ์/ประสานงาน/ รักษาความปลอดภัย • บัญชาการเหตุการณ์ในภาวะฉุกเฉิน • บูรณาการ • หน่วยงานและสนธิ • กำลัง • กำหนดนโยบาย/ • วิธีปฏิบัติในภาวะ • ฉุกเฉิน • แจ้งเตือน • ประกาศภัยพิบัติ • ฉุกเฉิน • อำนวยการและประสานการปฏิบัติ • ทุกภาคส่วน • วิเคราะห์และ • ประเมิน • สถานการณ์ • กำหนดและบูรณาการแผนปฏิบัติการฉุกเฉินของทุกหน่วยงาน • บูรณาการ ประสาน เชื่อมโยงข้อมูล และจัดตั้งศูนย์ข้อมูลรวม • จัดสรรและติดตามทรัพยากร • กำกับและติดตามผล • กฎหมาย • เฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์ • ปฏิบัติการค้นหา ช่วยชีวิตกู้ภัย และรายงานสถานการณ์ • รายงานข้อมูลย้อนกลับ • ปฏิบัติการการแพทย์ฉุกเฉิน • ตรวจสอบและติดตาม • ผู้สูญหาย • พิสูจน์เอกลักษณ์บุคคล • อพยพผู้ประสบภัย • ลงทะเบียนตรวจสอบผู้อพยพ • สถาปนาระบบสาธารณูปโภค ไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ ฯลฯ • ซ่อมแซมอาคารบ้านเรือน สิ่งสาธารณประโยชน์ • จัดหาที่พักอาศัยชั่วคราว/บ้านน๊อคดาวน์/เต็นท์ฯลฯ • รื้อถอนซากปรักหักพัง/ • ทำความสะอาด • รับเรื่องร้องเรียน • จัดหาและรับ-ส่งเครื่องอุปโภค บริโภค • ส่งกำลังบำรุงหน่วยปฏิบัติทั้งทางบก ทางน้ำ ทางอากาศ • สนับสนุนเครื่องมืออุปกรณ์ เครื่องจักรกล บุคลากร อาสาสมัคร อาหาร เครื่องดื่ม น้ำมันเชื้อเพลิงและหล่อลื่น ฯลฯ • การคมนาคมและขนส่ง • ดำรงการสื่อสาร • สนับสนุนด้านการแพทย์ • ประสานความช่วยเหลือจากต่างประเทศ • จัดหางบประมาณช่วยเหลือฉุกเฉิน • การจ่ายเงินช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติฉุกเฉิน ตามระเบียบของทางราชการ • การเงินและบัญชี • รับบริจาคเงินและสิ่งของ บริหารจัดการเงินและสิ่งของบริจาค รวมทั้งสิ่งของพระราชทาน • จัดหาค่าตอบแทนผู้ปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉิน • เผยแพร่ประชาสัมพันธ์สถานการณ์ การแก้ไขปัญหา การให้ความช่วยเหลือ • ทำความเข้าใจสื่อมวลชน ถูกต้อง ชัดเจน เป็นไปในแนวทางเดียวกัน • จัดตั้งศูนย์รวมข้อมูลข่าวสาร เพื่อการประชาสัมพันธ์และ • แถลงข่าว • รักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของผู้ประสบภัย • ควบคุมและจัดระเบียบการจราจรในภาวะฉุกเฉิน • อำนวยความปลอดภัย • ในการอพยพ 6
ภาคผนวก โครงสร้างสำนักงานนโยบายและบริหารจัดการน้ำและอุทกภัยแห่งชาติ (ปัจจุบัน) กบอ. สบอช. สำนักวิชาการและวิเคราะห์โครงการ ศูนย์ปฏิบัติการบริหารจัดการน้ำ (war room) สำนักส่งเสริมการมีส่วนร่วมและมวลชนสัมพันธ์ สำนักติดตามและประเมินผล สำนักงานเลขาธิการ • การบริหารงานทั่วไป งานสารบรรณของสำนักงาน • การจัดระบบงาน บริหารบุคคล งานวินัยชองสำนักงาน และงานจัดโครงสร้างองค์กร • การเงิน การบัญชี พัสดุ อาคารสถานที่และพาหนะ • จัดทำ และพัฒนายุทธศาสตร์ของ สบอช. • วิเคราะห์และกลั่นกรองเรื่อง/วาระที่เสนอ กนอช. กบอ. และอนุกรรมการที่เกี่ยวข้อง • ประสานงานและจัดทำเรื่องเสนอคณะรัฐมนตรีและรัฐสภา • งานด้านกฎหมาย • ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย • ดำเนินการอื่นที่มิได้กำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานใดในสำนักงาน • จัดทำนโยบายและแผนปฏิบัติการบริการทรัพยากรน้ำ เพื่อเสนอ กนอช. และ กบอ. • ประสานและจัดทำแผนบริหารจัดการน้ำและอุทกภัยแบบบูรณาการ • ประสานและจัดทำแผนปฏิบัติการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย • รวบรวมแผนงานโครงการเพื่อวิเคราะห์และประมวลผลในภาพรวมเพื่อเสนอต่อ กนอช. และ กบอ. • พัฒนาระบบสารสนเทศ วิเคราะห์ ประมวลผล จัดการข้อมูลและองค์ความรู้ด้านน้ำ • ประสานทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย • กำกับ ดูแลแผนงานบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย ตามที่ กนอช. และ กบอ. มอบหมาย • เสนอแนะแนวทางและมาตรการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการขับเคลื่อนนโยบายการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัยแห่งชาติ • ดำเนินการอื่นใดตามที่ กนอช. หรือ กบอ. มอบหมาย • ประสาน รวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง เพื่อจัดทำระบบการรายงานสถานการณ์น้ำ ทั้งสภาวะปกติและวิกฤต • ประสานและจัดทำหลักเกณฑ์เพื่อการเตือนอุทกภัยของประเทศ • การจัดเตรียมแผนเผชิญเหตุโดยกำหนดทางเลือกของแผนปฏิบัติการและแนวทางปฏิบัติในสภาวะวิกฤต • บริหารจัดการศูนย์ปฏิบัติการบริหารจัดการน้ำ (War Room) • จัดทำเว็บไซด์และพัฒนาระบบสารสนเทศ • จัดทำระบบ DSS, MIS • รวบรวมข้อมูลและเครื่องมือในการเตรียมการสนับสนุนการให้ความช่วยเหลือประชาชน • ประสาน ติดตาม ตรวจสอบ และเร่งรัดการปฏิบัติงานของหน่วยงานของรัฐให้เป็นไปตามแผนงาน และข้อคำสั่งการของ กนอช. และ กบอ. • ประสานรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลที่เกี่ยวข้องเพื่อจัดทำระบบการรายงานสถานการณ์น้ำ ทั้งสภาวะปกติและวิกฤต • วิเคราะห์ผลงาน ผลลัพธ์ และปัญหา เพื่อกำหนดแนวทางและวิธีการแก้ไข หรือ ปรับปรุง เพื่อเสนอ กนอช. และ กบอ. • การรายงานผลงานความก้าวหน้าในระดับพื้นที่อย่างต่อเนื่อง • สนับสนุนหน่วยงานของรัฐ เพื่อให้ดำเนินการให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการบริหารจัดการน้ำและอุทกภัย • การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ • เพื่อสร้างความเชื่อมั่น ทั้งในประเทศและต่างประเทศ • จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารทุกรูปแบบ • ประสานเครือข่ายและมวลชนสัมพันธ์ในประเทศและต่างประเทศ • จัดให้มีระบบ Call Center • ประสานการแก้ไขปัญหาข้อขัดแย้งกับชุมชนและสร้างเครือข่ายชุมชนในการมีส่วนร่วม • ดำเนินการให้มีการซักซ้อม และเตรียมการ แผนเผชิญเหตุร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • สนับสนุนจัดกลุ่มองค์กรดูแล ต้น กลาง ปลายน้ำ และพื้นที่อื่นๆ