1 / 8

สาขาอุบัติเหตุ

สาขาอุบัติเหตุ. 27 กย 57. การดำเนินงานในปี 57. มีระบบการส่งต่อในผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะตามเขตล้านนา 1 2 และ 3 มีระบบ Fast track ใน ผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ ประสาทศัลยแพทย์ร่วมให้บริการในรพ ระดับ S ระบบลำเลียงทางอากาศยาน อบรมการใช้ระบบข้อมูล Injury surveillance

kyria
Télécharger la présentation

สาขาอุบัติเหตุ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สาขาอุบัติเหตุ 27 กย 57

  2. การดำเนินงานในปี 57 • มีระบบการส่งต่อในผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะตามเขตล้านนา 1 2 และ 3 • มีระบบ Fast track ใน ผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ • ประสาทศัลยแพทย์ร่วมให้บริการในรพ ระดับ S • ระบบลำเลียงทางอากาศยาน • อบรมการใช้ระบบข้อมูล Injury surveillance • เพิ่มความครอบคลุมของระบบ EMS • Trauma audit, trauma round • นิเทศติดตามภายในจังหวัด และในเขตบริการย่อย

  3. ตัวชี้วัดรายจังหวัด

  4. อุปสรรค/ปัญหาที่พบในปี 57 • อัตราตายอุบัติเหตุทางถนนยังไม่ลดในส่วนใหญ่ ยกเว้น เชียงใหม่ ที่ผู้ว่าราชการจังหวัด ประชุมบูรณาการติดตามทุกเดือน • ด้านระบบข้อมูล • การบริหารข้อมูล IS ไม่มีผู้รับผิดชอบนำมาวิเคราะห์ใช้ประโยชน์ • การดูแลผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะ • การผ่าตัดใน รพ ระดับ S • การฟื้นฟูสภาพหลังระยะ acute รพช และ รพสต ยังรองรับได้น้อย • ผู้ป่วยบาดเจ็บหลายระบบ • ศัลยแพทย์ทั่วไปยังไม่เพียงพอในรพระดับ M1 M2 S • ไม่มีหอผู้ป่วยเฉพาะในรพ ระดับ S

  5. อุปสรรค/ปัญหาที่พบในปี 57 (ต่อ) • การดูแลผู้ป่วย Burn, Maxillo-facial injury • ขาดศัลยแพทย์ตกแต่งในรพ ระดับ A • Pre-hospital care • ความครอบคลุมและคุณภาพการให้บริการ EMS

  6. แผนการให้บริการปี 58 • ใช้ระบบข้อมูลเพื่อการดูแลผู้ป่วย (IS, Trauma registry) • พัฒนาการดูแลต่อเนื่องของผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะในระยะฟื้นฟูที่รพ ชุมชน / รพสต • ขยายบริการผ่าตัดผู้ป่วยบาดเจ็บที่ศีรษะไปยัง รพ ระดับ Sแพร่ น่าน ลำพูน • เน้นการป้องกันอุบัติเหตุโดยเฉพาะอุบัติเหตุทางถนน • พัฒนาระบบ EMS ทั้งในแง่ความครอบคลุม และคุณภาพ • พัฒนาคุณภาพห้องฉุกเฉิน

  7. ความต้องการสนับสนุนจากเขตความต้องการสนับสนุนจากเขต • Leadership เพื่อลดการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุอย่างบูรณาการ • สนับสนุนงบประมาณการลงทุน • ด้านพัฒนาบุคลากร หลักสูตร trauma nurse coordinator, emergency nurse practioner, พยาบาลผู้ป่วยวิกฤตและ พยาบาลประสาทวิทยา, ATLS แพทย์ • ระบบ Telemedicine ในการส่งต่อผู้ป่วย • ด้านครุภัณฑ์อาคารอุบัติเหตุ รพ เชียงราย ICU trauma and Burn unit • ครุภัณฑ์อาคารผ่าตัด รพ นครพิงค์ICU trauma และครุภัณฑ์ห้องผ่าตัด

More Related