1 / 24

สินค้าคงคลังและการจัดการคุณภาพ (Inventory and Quality Management)

CHAPTER 7-1. สินค้าคงคลังและการจัดการคุณภาพ (Inventory and Quality Management). Powerpoint Templates. ต้นทุนของสินค้าคงคลัง (Inventory Cost). 1. ระบบการควบคุมสินค้าคงคลัง (Inventory Control System). 2. การกำหนดจุดสั่งซื้อเพิ่มเติม (Reorder Point). 3. การคำนวณหาจำนวนสั่งซื้อที่ประหยัด

kyrie
Télécharger la présentation

สินค้าคงคลังและการจัดการคุณภาพ (Inventory and Quality Management)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. CHAPTER 7-1 สินค้าคงคลังและการจัดการคุณภาพ(Inventory and Quality Management) Powerpoint Templates

  2. ต้นทุนของสินค้าคงคลังต้นทุนของสินค้าคงคลัง (Inventory Cost) 1 ระบบการควบคุมสินค้าคงคลัง (Inventory Control System) 2 การกำหนดจุดสั่งซื้อเพิ่มเติม (Reorder Point) 3 การคำนวณหาจำนวนสั่งซื้อที่ประหยัด Economic Order Quantity 4 Contents 1 1 7

  3. การควบคุมสินค้าคงคลัง (Inventory Control) วัตถุประสงค์หลัก 2 ประการคือ 1. สามารถบริการลูกค้าในปริมาณที่เพียงพอและทันต่อความต้องการ เพื่อสร้างยอดขายและรักษาระดับส่วนแบ่งตลาดไว้ 2. สามารถลดระดับการลงทุนในสินค้าคงคลังให้ต่ำสุด เพื่อให้ต้นทุนการผลิตต่ำลง

  4. จุดเริ่มต้นของการบริหารสินค้าคงคลังจุดเริ่มต้นของการบริหารสินค้าคงคลัง ตามหลักการการจัดซื้อที่ดีที่สุด (Best Buy) เป็นจุดเริ่มต้นของการบริหารสินค้าคงคลัง • คุณสมบัติที่ตรงตามความต้องการ • ปริมาณเพียงพอ • ราคาเหมาะสม • ทันเวลาที่ต้องการ • นำส่งยังสถานที่ที่ถูกต้อง • โดยซื้อจากผู้ขายที่ไว้วางใจได้

  5. ประโยชน์ของสินค้าคงคลังประโยชน์ของสินค้าคงคลัง • ตอบสนองความต้องการของลูกค้า ที่ประมาณการไว้ในแต่ละช่วงเวลา ทั้งในและนอกฤดูกาลโดยธุรกิจต้องเก็บสินค้าคงคลังไว้ในคลังสินค้า • รักษาการผลิตให้มีอัตราคงที่สม่ำเสมอ เพื่อรักษาระดับการจ้างแรงงาน • ทำให้ธุรกิจได้ส่วนลดปริมาณจากการจัดซื้อจำนวนมากต่อครั้ง ป้องกันการเปลี่ยนแปลงราคาและผลกระทบจากเงินเฟ้อเมื่อสินค้าในท้องตลาดมีราคาสูงขึ้น • ทำให้กระบวนการผลิตสามารถดำเนินการต่อเนื่อง ไม่หยุดชะงักเนื่องจากของขาดมือ

  6. ต้นทุนของสินค้าคงคลัง(Inventory Cost) ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อ (Ordering Cost) ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษา (Carrying Cost) ค่าใช้จ่ายเนื่องจากสินค้าขาดแคลน (Shot –age Cost Or Stock Out Cost) 4. ค่าใช้จ่ายในการติดตั้งเครื่องจักรใหม่

  7. ระบบการควบคุมสินค้าคงคลังInventory Control System มี 2 วิธี คือ • ระบบสินค้าคงคลังอย่างต่อเนื่อง (Continuous Inventory System , Perpetual Inventory System) 2. ระบบสินค้าคงคลังเมื่อสิ้นงวด (Periodic Inventory System)

  8. การกำหนดจุดสั่งซื้อเพิ่มเติม (Reorder Point) วิธีการหนึ่งในการควบคุมการลงทุนสินค้าคงเหลือ คือ การกำหนดระดับของสินค้าที่จะต้องสั่งซื้อเพิ่มเติม เรียกว่า จุดสั่งซื้อเพิ่มเติม (Reorder Points)การกำหนดจุดสั่งซื้อเพิ่มเติมขึ้นอยู่กับปัจจัย 3 ประการ คือ 1. ระยะเวลาที่ใช้ในการสั่งซื้อ (Order Lead time) 2. อัตราการขายสินค้า(Usage Rate) 3. ระดับสินค้าคงเหลือที่ปลอดภัย (Safety Stock)

  9. การคำนวณหาจุดสั่งซื้อเพิ่มเติมการคำนวณหาจุดสั่งซื้อเพิ่มเติม • จุดสั่งซื้อเพิ่มเติม = อัตราการขาย x ระยะเวลาที่ใช้ในการสั่งซื้อ กรณีมีการกำหนดระดับสินค้าคงเหลือที่ปลอดภัย (Safety stock) จุดสั่งซื้อเพิ่มเติม =(อัตราการขาย x ระยะเวลาที่ใช้ในการสั่งซื้อ) + ระดับสินค้าคงเหลือที่ปลอดภัย Ex 1ร้านค้า A สามารถจำหน่ายรองเท้าได้วันละ 10 คู่ และโดยเฉลี่ยใช้เวลา 8 วันในการสั่งซื้อ คำนวณจุดสั่งซื้อ จุดสั่งซื้อเพิ่มเติม = 8*10 = 80 คู่

  10. การคำนวณหาจุดสั่งซื้อเพิ่มเติม (ต่อ) Ex 2 ร้านค้า A สามารถจำหน่ายรองเท้าได้วันละ 10 คู่ และโดยเฉลี่ยใช้เวลา 8 วันในการสั่งซื้อ และถ้ามีการกำหนด Safety Stock ร้านค้าต้องการให้มีสินค้าคงเหลือที่ปลอดภัย ประมาณ 30%ของจุดสั่งซื้อสินค้าเพิ่มเติมคำนวณจุดสั่งซื้อเพิ่มเติม จุดสั่งสินค้าเพิ่ม = 80+.3(80) = 80+24 = 104 หน่วย

  11. ตัวแบบพัสดุคงเหลือ (Inventory Control) • ปัญหาในการตัดสินใจในเรื่องการควบคุมสินค้าคงเหลือมีอยู่ 2 ประการ คือ • 1. จำนวนที่จะสั่งซื้อหรือผลิตในแต่ละครั้งว่า ควรมีปริมาณเท่าใดจึงจะเหมาะสม • 2. เวลาที่เหมาะสมในการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต หรือจะสั่งสินค้าจำนวนนี้เมื่อไร

  12. ปัญหาในการตัดสินใจในเรื่องการควบคุมสินค้าคงเหลือปัญหาในการตัดสินใจในเรื่องการควบคุมสินค้าคงเหลือ จากปัญหา ผู้บริหารจะพิจารณาต้นทุน 4 ชนิด คือ • 1. ต้นทุนในการสั่งซื้อสินค้า (Ordering costs) เป็นต้นทุนที่เกิดขึ้นเพื่อให้ได้สินค้ามาเก็บไว้ โดยจะเกิดขึ้นทุกครั้งที่มีการสั่งสินค้า • 2. ต้นทุนในการเก็บรักษาสินค้าคงเหลือ (Carrying costs) คือค่าใช้จ่ายที่เกิด • จากการเก็บรักษาสินค้าคงเหลือให้อยู่ในสภาพใช้งานได้ดี

  13. ปัญหาในการตัดสินใจในเรื่องการควบคุมสินค้าคงเหลือปัญหาในการตัดสินใจในเรื่องการควบคุมสินค้าคงเหลือ •  3. ต้นทุนการขาดแคลน (Shortage costs) คือ ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นเมื่อเกิดขาดแคลน สินค้าคงเหลือ เช่น ขาดโอกาสทำกำไร เพราะไม่มีสินค้าจำหน่ายหรือการเสียค่าปรับ เนื่องจากไม่มีสินค้าส่งให้ลูกค้า • 4. ต้นทุนของสินค้าคงเหลือ (Item cost) คือ ราคามูลค่าของสินค้าคงเหลือต่อหน่วยต้นทุนรวม (Total cost) = ต้นทุนสินค้าคงเหลือ + ต้นทุนการสั่งซื้อหรือสั่งผลิต + ต้นทุนการเก็บรักษา + ต้นทุนความขาดแคลน

  14. ประเภทของตัวแบบพัสดุคงเหลือประเภทของตัวแบบพัสดุคงเหลือ • ในการศึกษาตัวแบบการสั่งซื้อที่ประหยัด จำเป็นต้องทราบถึงลักษณะของการสั่งและได้รับสินค้ารวมทั้งส่วนลดที่ได้รับกรณีสั่งครั้งละมาก ๆ ในที่นี้จะขอกล่าวอยู่ 3 รูปแบบ คือ • 1. ตัวแบบสินค้าคงเหลือเมื่อสั่งสินค้า/วัตถุดิบแล้วได้ทันที • 2. ตัวแบบสินค้าคงเหลือเมื่อสั่งสินค้าแล้วสินค้าทยอยมา • 3. การหาคำสั่งซื้อที่ประหยัดต้นทุนรวมต่ำที่สุด (Economic Order Quantity : EOQ)

  15. ตัวแบบสินค้าคงเหลือเมื่อสั่งสินค้า/วัตถุดิบแล้วได้ทันทีตัวแบบสินค้าคงเหลือเมื่อสั่งสินค้า/วัตถุดิบแล้วได้ทันที

  16. ระบบการสั่งซื้อที่ประหยัดระบบการสั่งซื้อที่ประหยัด • ระบบการสั่งซื้อที่ประหยัด • ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด(Economic Order Quality) หรือ EOQ จะเหมาะสำหรับการประยุกต์กับสินค้าคงคลังที่สั่งซื้อเป็นครั้ง ๆโดยไม่ได้ดำเนินงานหรือจัดส่งอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเราจะพิจารณาการเปรียบเทียบต้นทุนการสั่งซื้อ และต้นทุนการเก็บรักษา

  17. ขนาดการสั่งซื้อที่ประหยัดที่อุปสงค์คงที่และสินค้าคงคลังไม่ขาดมือขนาดการสั่งซื้อที่ประหยัดที่อุปสงค์คงที่และสินค้าคงคลังไม่ขาดมือ • โดยมีสมมติฐานที่กำหนดเป็นขอบเขตไว้ว่า • ทราบปริมาณอุปสงค์อย่างชัดเจนและอุปสงค์คงที่ • ได้รับสินค้าที่สั่งซื้อพร้อมกันทั้งหมด • รอบเวลาในการสั่งซื้อ ซึ่งเป็นช่วงเวลาตั้งแต่สั่งซื้อจนได้รับสินค้าคงที่ • ต้นทุนการเก็บรักษาสินค้าและต้นทุนการสั่งซื้อสินค้าคงที่ • ราคาที่สั่งซื้อคงที่ • ไม่มีสภาวะของขาดมือ

  18. EOQ Model Annual Cost Total Cost Curve Holding Cost Order (Setup) Cost Order Quantity Optimal Order Quantity (Q*)

  19. ขนาดการสั่งซื้อที่ประหยัดที่อุปสงค์คงที่และสินค้าคงคลังไม่ขาดมือขนาดการสั่งซื้อที่ประหยัดที่อุปสงค์คงที่และสินค้าคงคลังไม่ขาดมือ • EOQ : ขนาดการสั่งซื้อต่อครั้งที่ประหยัด (Q*) • D : อุปสงค์หรือความต้องการสินค้าต่อปี (หน่วย) • P : ต้นทุนการสั่งซื้อ (บาท) • C : ต้นทุนการเก็บรักาต่อหน่วยต่อปี (บาท) อาจใช้ H แทนค่าเป็น % V : ราคาสินค้าเฉลี่ยต่อหน่วย • EOQ = 2PD √ cv

  20. โจทย์ • บริษัทแห่งหนึ่งต้องการซื้อสินค้า A ปีละ 4800 ชิ้น ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อเท่ากับ 40 บาท/ครั้ง ราคาสินค้าต่อหน่วยเท่ากับ 100 บาท และมีค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสินค้าเท่ากับ 25% ต่อปี คำนวณ EOQ • EOQ = 2(40)(4800) = • EOQ = 124 หน่วย √ √384000 (25%)(100) 25

  21. Assignment 7-1 จากโจทย์ จงหาขนาดการสั่งซื้อที่ประหยัด • บริษัทแห่งหนึ่งต้องใช้อะไหล่เครื่องยนต์รถยนต์นั่งส่วนบุคคลชนิด C ปีละ 56,000 ชิ้น ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อเท่ากับ 150 บาท/ครั้ง ราคาสินค้าต่อหน่วยเท่ากับ 1,450 บาท และมีค่าใช้จ่ายในการเก้บรักษาสินค้าเท่ากับ 15% ต่อปี • บริษัทหรรษา จำกัด ต้องการปูนซีเมนต์สำหรับจำหน่ายปีละ 110,000 ถุง ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อเท่ากับ 1140 บาท/ครั้ง ราคาสินค้าต่อหน่วยเท่ากับ 70 บาท และมีค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสินค้าเท่ากับ 10% ต่อปี • บริษัท สยาม จำกัดต้องการสินค้าชนิด B เดือนละ 5,100 ชิ้น ค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อเท่ากับ 150 บาท / ครั้ง ราคาสินค้าต่อหน่วยเท่ากับ 1,450 บาท และมีค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสินค้าเท่ากับ 10% ต่อปี

  22. 4. ตัวแทนจำหน่ายยางรถยนต์ ประมาณการว่าปีหน้ามีความต้องการยางเรเดียลจำนวน 9,600 เส้น มูลค่าของยางที่สั่งมาจำหน่วยคิดเป็นเส้นละ 1,000 บาท ต้นทุนการเก็บรักษาคิดเป็น 16% ของต้นทุนสินค้าคงเหลือ และค่าใช้จ่ายในการสั่งซื้อแต่ละครั้งเท่ากับ 750  บาท ตัวแทนจำหน่ายแห่งนี้เปิดจำหน่าย 288 วันให้นักศึกษาคำนวณหาค่า • ก. ปริมาณการสั่งซื้อที่ประหยัด (EOQ) • ข. จำนวนครั้งในการสั่งซื้อ/ปี • ค. ช่วงเวลาห่างของการสั่งซื้อเป็นเท่าใด • ง. ต้นทุนรวมในการสั่งซื้อที่ประหยัดทั้งปี

More Related