1 / 152

Channel of Distribution

Channel of Distribution. Sales Promotion Strategies. ความหมายของช่องทางการจัดจำหน่าย. ช่องทางการจัดจำหน่าย (Channel of Distribution) หมายถึง “ กระบวนการในการจัดการเกี่ยวกับการเคลื่อนย้าย สิทธิในตัวผลิตภัณฑ์ (และอาจรวมถึงตัวผลิตภัณฑ์) จากผู้ผลิตไปจนถึงผู้บริโภค ”. ผู้ผลิต. ตัวกลาง.

laasya
Télécharger la présentation

Channel of Distribution

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Channel of Distribution Sales Promotion Strategies

  2. ความหมายของช่องทางการจัดจำหน่ายความหมายของช่องทางการจัดจำหน่าย ช่องทางการจัดจำหน่าย (Channel of Distribution)หมายถึง “กระบวนการในการจัดการเกี่ยวกับการเคลื่อนย้าย สิทธิในตัวผลิตภัณฑ์ (และอาจรวมถึงตัวผลิตภัณฑ์) จากผู้ผลิตไปจนถึงผู้บริโภค” ผู้ผลิต ตัวกลาง ผู้บริโภค

  3. ประเภทของตัวกลางทางการตลาดประเภทของตัวกลางทางการตลาด ตัวกลางทางการตลาด (Marketing Intermediaries) หมายถึง บุคคล กลุ่มบุคคลหรือ องค์กร ทำหน้าที่ช่วยเหลือ และสนับสนุนในกระบวนการย้าย สินค้าและสิทธิในตัวสินค้า จากผู้ผลิตมายังผู้บริโภค โดยตัวกลางประกอบด้วย ตัวกลางทางการตลาด 2. ธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการกระจาย ผลิตภัณฑ์ในเชิงกายภาพ (Physical Distribution Firms) 3. สถาบันการเงิน (Financial Institution) 1. คนกลาง (Middlemen) พ่อค้าคนกลาง (Merchant Middlemen) ตัวแทนคนกลาง (Agent Middlemen)

  4. กิจกรรมและบริการที่ให้แก่ผู้ผลิตกิจกรรมและบริการที่ให้แก่ผู้ผลิต 2. คาดคะเน ความต้องการของตลาด 3. ขายผลิตภัณฑ์แทนผู้ผลิต 1.ให้ข้อมูล ทางการ ตลาด 4. ส่งเสริมการตลาดให้ผลิตภัณฑ์ 8. ช่วยแบ่งเบาความเสี่ยงให้ผู้ผลิต ผู้ผลิต 7. ช่วยเจรจาต่อรองกับผู้ซื้อ 5. เก็บรักษาผลิตภัณฑ์ 6. ให้ความช่วยเหลือทางการเงิน

  5. กิจกรรมและบริการที่ให้แก่ผู้ซื้อกิจกรรมและบริการที่ให้แก่ผู้ซื้อ 2. ช่วยแบ่งเบาขนาดการซื้อให้เล็กลง 3. ช่วยเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ 1.ช่วยประมาณการความต้อง การของตลาด 4. ให้บริการขนส่งผลิตภัณฑ์ ผู้ซื้อ 7. รับประกันผลิตภัณฑ์ 5. สร้างความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ 6. ให้ความช่วยเหลือทางการเงิน

  6. โครงสร้างพื้นฐานของช่องทางการจัดจำหน่ายโครงสร้างพื้นฐานของช่องทางการจัดจำหน่าย โครงสร้างพื้นฐานของช่องทางการจัดจำหน่าย 1. โครงสร้างพื้นฐานช่องทางการจัดจำหน่าย แบ่งตามระดับของคนกลางที่เกี่ยวข้อง 2. โครงสร้างพื้นฐานช่องทางการจัดจำหน่าย แบ่งตามลักษณะของผลิตภัณฑ์ 1. โครงสร้างพื้นฐานของช่องทางการจัดจำหน่าย แบ่งตามระดับของคนกลางที่เกี่ยวข้อง 1.1 ช่องทางการจัดจำหน่ายทางตรง - ผลิตภัณฑ์ที่เน่าเสียง่าย - ผลิตภัณฑ์ที่มีความซับซ้อน - ธุรกิจบริการ 1.2 ช่องทางการจัดจำหน่ายทางอ้อม - ผลิตภัณฑ์อุปโภคและบริโภค - ผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีความซับซ้อน - ผู้ผลิตมีฐานะทางการเงินไม่มั่นคง

  7. วิเคราะห์เปรียบเทียบช่องทางการจัดจำหน่ายทางตรงและทางอ้อมวิเคราะห์เปรียบเทียบช่องทางการจัดจำหน่ายทางตรงและทางอ้อม

  8. โครงสร้างพื้นฐานของช่องทางการจัดจำหน่าย แบ่งตามลักษณะของผลิตภัณฑ์ ช่องทางการจัดจำหน่ายสำหรับผลิตภัณฑ์ผู้บริโภค(Consumer Product Channel) ช่องทางการจัดจำหน่ายสำหรับผลิตภัณฑ์ทางธุรกิจ(Business Product Channel) ช่องทางการจัดจำหน่ายสำหรับบริการ(Service Channel)

  9. ช่องทางการจัดจำหน่ายสำหรับผลิตภัณฑ์ผู้บริโภคช่องทางการจัดจำหน่ายสำหรับผลิตภัณฑ์ผู้บริโภค ผู้ผลิตสินค้า (Supplier) ร้านค้าส่ง/ยี่ปั้ว ศูนย์ค้าส่งสมัยใหม่ (Wholesaler) แม็คโคร คลังสินค้า (Distribution Center) สรรพสินค้า ซุปเปอร์/ ไฮเปอร์มาร์เก็ต ดิสเคานท์สโตร์ ร้านค้าส่งรายย่อย/ซาปั้ว ช่องทางการจัดจำหน่ายตรง ร้านค้าปลีก/โชวห่วยใน ท้องถิ่น ช่องทางการจำหน่ายในระบบการค้าสมัยใหม่ ช่องทางการจัดจำหน่ายแบบดั้งเดิม ผู้บริโภครายสุดท้าย

  10. ช่องทางการจัดจำหน่ายสำหรับผลิตภัณฑ์ทางธุรกิจช่องทางการจัดจำหน่ายสำหรับผลิตภัณฑ์ทางธุรกิจ 1. ช่องทางจำหน่ายตรง 2. ช่องทางจำหน่ายผ่านตัวแทน หรือผู้ค้าส่งทางธุรกิจ 2. ช่องทางจำหน่ายผ่านคนกลาง และคนกลางย่อย ผู้ผลิตทางธุรกิจ ผู้ผลิตทางธุรกิจ ผู้ผลิตทางธุรกิจ ตัวแทนหรือผู้ค้าส่งทางธุรกิจ ตัวแทนหรือผู้ค้าส่งทางธุรกิจ ตัวแทนช่วงหรือผู้ค้าส่งรายย่อย ผู้ใช้ทางธุรกิจ ผู้ใช้ทางธุรกิจ ผู้ใช้ทางธุรกิจ

  11. ช่องทางการจัดจำหน่ายสำหรับบริการช่องทางการจัดจำหน่ายสำหรับบริการ ผู้ให้บริการ ตัวแทน ผู้ซื้อ

  12. ปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดช่องทางการจัดจำหน่ายปัจจัยที่มีผลต่อการกำหนดช่องทางการจัดจำหน่าย 1. ลักษณะของตลาด 1.1 ประเภทของลูกค้า 1.2 ขนาดของคำสั่งซื้อ 1.3 จำนวนลูกค้ากลุ่มเป้าหมาย 1.4 การกระจายตัวของลูกค้ากลุ่ม เป้าหมาย 2. ลักษณะของผลิตภัณฑ์ 2.1 ประเภทของผลิตภัณฑ์ 2.2 ลักษณะทางเทคนิคของผลิตภัณฑ์ 2.3 มูลค่าต่อหน่วยของผลิตภัณฑ์ 2.4 การหมดอายุของผลิตภัณฑ์ 3. ปัจจัยด้านคนกลาง 3.1 จำนวนผู้มีความสามารถที่สนใจ มาเป็นคนกลาง 3.2 ความสามารถในการให้บริการของ คนกลาง 3.3 ทัศนคติของคนกลางที่มีต่อนโยบาย ของผู้ผลิต 4. ปัจจัยด้านบริษัทผู้ผลิต 4.1 ทรัพยากรขององค์กร 4.2 ระดับความต้องการควบคุมช่องทาง การจัดจำหน่าย 4.3 บริการที่ผู้ผลิตสามารถให้ได้

  13. ความหนาแน่นของคนกลาง • แบบหนาแน่นสูง • Intensive 2. แบบเลือกสรร Selective 3. แบบเลือกเฟ้น Exclusive

  14. ระบบโลจิสติกส์จะครอบคลุมกิจกรรมกิจกรรมดังนี้คือระบบโลจิสติกส์จะครอบคลุมกิจกรรมกิจกรรมดังนี้คือ • การบริการลูกค้า (Customer Service) • กระบวนการสั่งซื้อ (Order Processing) • การสื่อสารระหว่างกันในการส่งผ่านกระจายสินค้า (Distribution Communication) • การควบคุมสินค้าคงคลังในโกดัง (Inventory Control)

  15. ระบบโลจิสติกส์จะครอบคลุมกิจกรรมกิจกรรมดังนี้คือระบบโลจิสติกส์จะครอบคลุมกิจกรรมกิจกรรมดังนี้คือ 5. การคาดคะเนความต้องการ (Demand Forecasting) 6. กระบวนการขนส่ง (Traffic and Transportation) • การบริหารคลังสินค้า (Warehousing and storage) • การเลือกแหล่งที่ตั้งของคลังสินค้าและโรงงาน (Plant and Warehouse Site Selection)

  16. ระบบโลจิสติกส์จะครอบคลุมกิจกรรมกิจกรรมดังนี้คือระบบโลจิสติกส์จะครอบคลุมกิจกรรมกิจกรรมดังนี้คือ 9. การขนถ่ายวัตถุดิบและการบรรจุภัณฑ์ (Material Handling & Packaging) 10. การจัดหาวัตถุดิบ (Procurement) • การสนับสนุนทางด้านบริการและชิ้นส่วนประกอบ (Part and Service Support) 12. การเคลื่อนย้ายของเสียจากกระบวนการผลิตหรือการนำมันกลับมาใช้ใหม่ (Salvage and Scrap Disposal) 13. การยกขนสินค้าเพื่อส่งคืน (Return Goods Handling)

  17. 1. การบริการลูกค้า (Customer Service)

  18. 2. กระบวนการสั่งซื้อ (Order Processing)

  19. 3. การสื่อสารระหว่างกันในการส่งผ่านกระจายสินค้า (Distribution Communication)

  20. 4. การควบคุมสินค้าคงคลังในโกดัง (Inventory Control)

  21. 5. การคาดคะเนความต้องการ (Demand Forecasting)

  22. 6. กระบวนการขนส่ง (Traffic and Transportation)

  23. 7. การบริหารคลังสินค้า (Warehousing and storage)

  24. 8. การเลือกแหล่งที่ตั้งของคลังสินค้าและโรงงาน (Plant and Warehouse Site Selection)

  25. 9. การขนถ่ายวัตถุดิบและการบรรจุภัณฑ์ (Material Handling & Packaging)

  26. 10. การจัดซื้อและการจัดหาวัตถุดิบ (Procurement)

  27. 11. การสนับสนุนทางด้านบริการและชิ้นส่วนประกอบ(Part and Service Support)

  28. 12. การเคลื่อนย้ายของเสียจากกระบวนการผลิตหรือการนำกลับมาใช้ใหม่ (Salvage and Scrap Disposal)

  29. 13. การยกขนสินค้าเพื่อส่งคืน (Return Goods Handling)

  30. Logistics & Supply Chain Management โลจิสติกส์หรือระบบขนส่งสินค้า (Logistics) หรือชื่ออื่นๆ เช่น โลจิสติกส์ทางธุรกิจ - Business Logistics การจัดการช่องทาง (การจัดจำหน่าย) - Channel Management การกระจายสินค้า - Distribution การกระจายวัสดุ/สินค้า - Physical Distribution โลจิสติกส์ทางอุตสาหกรรม - Industrial Logistics

  31. Logistics & Supply Chain Management โลจิสติกส์หรือระบบขนส่งสินค้า (Logistics) หรือชื่ออื่นๆ เช่น การจัดการโลจิสติกส์ Logistics Management การจัดการวัสดุ - Material Management ระบบการตอบสนองที่รวดเร็ว - Quick-Response Systems การจัดการห่วงโซ่อุปทาน - Supply Chain Management การจัดการอุปทาน - Supply Management

  32. ความหมายของโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานความหมายของโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน

  33. Logistics & Supply Chain Management ความหมายของห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) การประสานกิจกรรมหลักๆของธุรกิจ (ทั้งภายในบริษัทและระหว่างบริษัท) ภายในห่วงโซ่อุปทาน โดยมีเป้าหมายเพื่อพัฒนาและปรับปรุงสมรรถนะในระยะยาว ของบริษัทและของหุ้นส่วนตลอดห่วงโซ่ (Shapiro, 2001)

  34. Logistics & Supply Chain Management ความหมายของห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) The management of upstream and downstream relationship with suppliers and customers to deliver superior customer value at less cost to the supply chain as a whole. (Christopher M. 1998)

  35. Logistics & Supply Chain Management ความหมายของห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) เป็นกระบวนการหรือขั้นตอนที่จะประสานและเชื่อมโยงกิจกรรมต่างๆตลอดห่วงโซ่อุปทานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลโดยมีเป้าหมายเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและa Bundle of Benefit ให้กับผู้เกี่ยวข้องตลอดห่วงโซ่อุปทาน (Theppitak, 2003)

  36. Characters of supply chain Material Control Purchasing Production Sales Distribution Purchasing Production Sales Distribution Material Control Focal Company Supplier Customer Supplier Focal Company Customer A H B G C F D E 1. Within department 2. Between department 3. Between organisations 4. Between network 5. Supply web

  37. Supply Chain Management The Concept & Principle which synchronizes each Organization In The Store Chain Environment Enabling Technology Retailer Wholesaler SUPLLIERS Consumer

  38. ผังการทำงานในระบบ Supply Chain Management Retailer MIS MDSG P/O Daily Sale ProdMSTF 1. ลูกค้าซื้อสินค้า โดยใช้เครื่อง P.O.S. แล้วส่งข้อมูลกลับฐานข้อมูลกลางทุกสิ้นวันเมื่อปิดการขาย 2. ข้อมูลถูกรับจาก 3 หน่วยงาน เข้ามาที่ฐานข้อมูลส่วนกลาง เพื่อ Update แล้วทำการวิเคราะห์ 3. รับข้อมูลจากหน่วยงาน MIS ไปทำการเปิด P/O สั่งซื้อสินค้าเข้า DC ศูนย์กระจายสินค้า (D.C.) Supplier Daily Receipt GR Center SUPER Sports รับสินค้าแทนสาขาตามใบปะหน้าพร้อม P/O แยกสาขา 5. รับสินค้าจาก Supplier ตาม Plan Receipt เข้าจัดเก็บ แล้วเตรียมกระจายให้สาขาตามระบบ JIT และ Cross Docking 4. รับ P/O เพื่อผลิตหรือเตรียมสินค้า แล้วนำส่งไป DC ตาม Plan Order

  39. ความหมายของโลจิสติกส์ความหมายของโลจิสติกส์ “ การเคลื่อนย้าย หรือการไหล (Flow) ของวัตถุดิบ ข้อมูลตั้งแต่เป็น วัตถุดิบจนเป็นสินค้าสำเร็จรูปจากต้นทางจนถึงปลายทางผู้บริโภค โดยมีการประสานแต่ละขั้นตอนการดำเนินงาน” • ดังนั้นโลจิสติกส์จะเป็นส่วนหนึ่งของห่วงโซ่อุปทาน • บทบาทของนักโลจิสติกส์ คือ “การวางแผน การปฏิบัติและการควบคุมวัตถุดิบสินค้าหรือข้อมูลต่างๆให้ไหลได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล”

  40. รูปแบบของการเคลื่อนย้ายหรือการไหลรูปแบบของการเคลื่อนย้ายหรือการไหล

  41. Supply chain management Policy agreement Policy agreement Company 1 Company 2 Company 3 Strategic Level (Management) Strategic Level (Management) Strategic Level (Management) Customer Customer Tactical (Planning) Tactical (Planning) Tactical (Planning) Customer Operational (Manufacturing) Operational (Manufacturing) Operational (Manufacturing) External logistics External logistics Finished product Raw material Internal logistics Material flow Material flow Relationships between logistics and supply chain

  42. ตัวอย่างความสำเร็จของการนำเอาการจัดการโลจิสติกส์มาประยุกต์ใช้ตัวอย่างความสำเร็จของการนำเอาการจัดการโลจิสติกส์มาประยุกต์ใช้ อังกฤษ ผลิตชิ้นส่วนเครื่องยนต์ แบ็ตตารี ระบบขับเคลื่อน ออสเตรีย ผลิตยางรถยนต์ หม้อน้ำ เบลเยียม ล้อรถยนต์ท่อทางเบรค เดนมาร์ก สายพานพัดลม นอร์เวย์ ลิ้นไอดีไอเสีย หน้าแปลนต่างๆ อิตาลี กระบอกสูบ คาบูฯ กระจก หลอดไฟ เยอรมันนี ระบบล็อก/ส่งกำลัง ระบบ จุดระเบิดประกอบเข้าด้วยกัน ญี่ปุ่น ระบบสตาร์ท แบริ่ง ปั้มน้ำ ประกอบในประเทศอังกฤษ หรือเยอรมันนี ฝรั่งเศส ฝาสูบ เบรก สีเคลือบ ถังน้ำมัน คลัทซ์ กระจก แบ็ตตารี ฯลฯ สวีเดน นัทโบลท์ฝาสูบ แค็มป์ สวิสเซอร์แลนด์ ระบบเกียร์ สีโค้ต สหรัฐอเมริกา วาล์ว ไฮโดรลิกส์

  43. บทบาทและความสำคัญของระบบโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานที่มีต่อการพัฒนาและการเจริญเติบโตบทบาทและความสำคัญของระบบโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานที่มีต่อการพัฒนาและการเจริญเติบโต • การใช้ระบบโลจิสติกส์เพื่อลดต้นทุน • การใช้ระบบโลจิสติกส์เพื่อยกระดับคุณภาพการให้บริการแก่ลูกค้า • การใช้ระบบโลจิสติกส์เพื่อสร้างความได้เปรียบเหนือคู่แข่ง

  44. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาและการนำเอาการบริหารจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานมาใช้ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาและการนำเอาการบริหารจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานมาใช้

  45. ซับพลายเออร์หรือผู้จัดส่งสินค้าซับพลายเออร์หรือผู้จัดส่งสินค้า จัดหา จัดซื้อ ผลิต โลจิสติกส์ การตลาด ลูกค้า สถานการณ์ขององค์กรในปัจจุบัน

  46. ซับพลายเออร์หรือผู้จัดส่งสินค้าซับพลายเออร์หรือผู้จัดส่งสินค้า จัดหา จัดซื้อ ผลิต โลจิสติกส์ การตลาด ลูกค้า ห่วงโซ่อุปทานในอุดมคติ (Integrated/ Virtual Supply Chain)

  47. ซับพลายเออร์ จัดหา จัดซื้อ ผลิต โลจิสติกส์ การตลาด ลูกค้า ห่วงโซ่อุปทานในรูปแบบของท่อน้ำ

  48. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาและการนำเอาการบริหารจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานมาใช้ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการพัฒนาและการนำเอาการบริหารจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานมาใช้ • การแข่งขันที่รุนแรง (Intense Competition) • การกลายเป็นโลกาภิวัตน์ (Globalisation) • ความไม่แน่นอน (Uncertainty) • การขาดความไว้ใจซึ่งกันและกัน (Trust) • การขาดการประสานและความร่วมมือกัน (Coordination & Cooperation) • ไม่มีการแชร์หรือแบ่งปันข้อมูลซึ่งกันและกัน (Share common information)

  49. เป้าหมายและประโยชน์จากการมีการจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทานเป้าหมายและประโยชน์จากการมีการจัดการโลจิสติกส์และห่วงโซ่อุปทาน • ลดต้นทุนต่างๆ • ปรับปรุงคุณภาพการให้บริการ • สร้างและเพิ่มระดับความพึงพอใจของลูกค้า (ทั้งภายในและภายนอก) 1 3 2

More Related