1 / 13

หากจะมีการใช้ ED95 ในประเทศไทย คุณภาพเชื้อเพลิง ควรระวังเรื่องใด ?

หากจะมีการใช้ ED95 ในประเทศไทย คุณภาพเชื้อเพลิง ควรระวังเรื่องใด ?. รศ.ดร. วีระศักดิ์ อุดมกิจเดชา ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ. ฝ่ายควบคุมคุณภาพเชื้อเพลิง โครงการสาธิตการใช้รถโดยสารขนาดใหญ่ที่ใช้เอทานอลเป็นเชื้อเพลิง. KMUTT Energy Forum ครั้งที่ 6

lassie
Télécharger la présentation

หากจะมีการใช้ ED95 ในประเทศไทย คุณภาพเชื้อเพลิง ควรระวังเรื่องใด ?

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หากจะมีการใช้ ED95 ในประเทศไทยคุณภาพเชื้อเพลิงควรระวังเรื่องใด? รศ.ดร. วีระศักดิ์ อุดมกิจเดชา ผู้อำนวยการศูนย์เทคโนโลยีโลหะและวัสดุแห่งชาติ ฝ่ายควบคุมคุณภาพเชื้อเพลิง โครงการสาธิตการใช้รถโดยสารขนาดใหญ่ที่ใช้เอทานอลเป็นเชื้อเพลิง KMUTT Energy Forum ครั้งที่ 6 “รถโดยสารประจำทางของไทย ควรใช้พลังงานทดแทนอย่างไร?” วันศุกร์ที่ 5 เมษายน 2556 เวลา 10.30 - 12.00 น.

  2. ประเด็นการศึกษาและวิธีการทดลองประเด็นการศึกษาและวิธีการทดลอง • ประเด็น • คุณสมบัติของเอทานอลในสวีเดนแตกต่างจากเอทานอลที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงในประเทศไทย จะใช้แบบไหน? • สารเติมแต่งต้องนำเข้าตลอดไหม? มีตัวเทียบเคียงหรือไม่? • ภูมิอากาศของไทยที่ร้อนชื้น จะส่งผลต่อการใช้งาน ED95 หรือไม่? • วิธีการทดลอง • เปรียบเทียบคุณสมบัติของเอทานอลระหว่างสวีเดนและไทย • ศึกษาความเป็นไปได้ • ในการนำเอทานอลไร้น้ำ (anhydrous ethanol 99.5%) ทดแทนเอทานอลมีน้ำ (hydrous ethanol 95%) มาผลิตเป็นเชื้อเพลิง ED95 • ในการใช้สารเติมแต่งชนิดอื่น • ทดสอบคุณสมบัติเชื้อเพลิง ED95 ระหว่างการใช้งาน (shelf-life testing)

  3. Different values Additional requirement Scania vs. DOEB specification for ethanol fuel base

  4. สารเติมแต่งที่มีการใช้และทดสอบในอดีตถึงปัจจุบัน • ชนิดของสารเติมแต่ง • Glycerol ethoxylate [1] • Polyethylene glycol [2-3] • Diethyl ether [4] • Isopropyl nitrate [2] • Bio-diesel (Methyl ester) [5] • การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของสารเติมแต่ง • คุณสมบัติที่ใช้ benchmark • ผลของการใช้เอทานอล 99.5% vs. 95% • ผลของ shelf-life/storage [1] SEKAB BioFuels & Chamicals AB, “Safety Data Sheet – Addtive ED95” [2] Simonsen, H., Chomiak, J., 1995, “Testing and Evaluation of Ignition Improvers for Ethanol use in a DI Diesel Engine” [3] Haupt, D. 2004, “Investigating the Potential to Obtain Low Emissions from a Diesel Engine Running on Ethanol” [4] Brent B., 1997, “Diethyl Ether (DEE) as a Renewable Diesel Fuel [5] Nord, K., Haupt, D., 2008, “Statistical Evaluation of Rapeseed Methyl Ester as Ignition Improver in a Diesel Engine” 4

  5. กรณีทดสอบ และมาตรฐานการวัด E95/S/5/L • ตัวแปร • 3 ชนิดสารเติมแต่ง • Commercial Sekab (S), • Glycerol Ethoxylate (GE) • Fatty Acid Methyl Ester (FAME) • เฉพาะสารเติมแต่งเทียบเคียง (GE & FAME) ปรับเปลี่ยน 3 สัดส่วน • Glycerol Ethoxylate (GE): 5, 10 และ 15% • Fatty Acid Methyl Ester (FAME): 15, 20 และ 25% • สำหรับสารเติมแต่งเชิงพาณิชย์ (S) ใช้สัดส่วนตามที่แนะนำ • ทดลองใช้เอทานอลไร้น้ำ (anhydrous ethanol) มาผสม • เก็บตัวอย่างจากสถานีจ่าย (Fuel station: F) • เก็บตัวอย่างจากในห้องปฏิบัติการ (Laboratory: L) • ติดตามวัดคุณสมบัติ 4 ตัว • ค่าความหนาแน่น : มีผลต่อการกระจายตัวของเชื้อเพลิงที่ฉีดในกระบอกสูบ • ค่าน้ำ : เพื่อดูผลของความชื้นในบรรยากาศ หากเชื้อเพลิงมีค่าน้ำเพิ่มขึ้น อาจจะทำให้เสื่อมสภาพได้ • ค่าความเป็นกรด : เพื่อป้องกันปัญหาการกัดกร่อนในวัสดุที่สัมผัสเชื้อเพลิงได้ • ค่าการนำไฟฟ้า : เป็นการวัดสารประกอบนินทรีย์ (ทั้ง cation & anion) ที่เกิดจากการเสื่อมสภาพของเชื้อเพลิง ซึ่งสารเหล่านี้บางตัวมีคุณสมบัติกัดกร่อน

  6. กรณีทดสอบ และมาตรฐานการวัด conductivity density water acidity

  7. Ethanol & additives Week 0 Week 10

  8. S: SEKAB GE: Glycerol Ethoxylate ME: BDF ผลการวัด (0, 1, 2, 3, 4, 6, 8, 10 สัปดาห์) Density Water content etOH diesel etOH 99.5% etOH 99.5% etOH etOH Acidity Conductivity

  9. S: SEKAB GE: Glycerol Ethoxylate ME: BDF ผลการวัด (0, 1, 2, 3, 4, 6, 8, 10 สัปดาห์) Density Water content • ค่าความหนาแน่น (density) และค่าน้ำ (water content) อยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ตลอด 10 สัปดาห์ ยกเว้นตัวอย่างที่ใช้เอทานอลไร้น้ำ (99.5% anhydrous ethanol)ที่มีค่าน้ำต่ำมาก • เอทานอลทั้งที่มีน้ำ (95% hydrous ethanol) และไม่มีน้ำ (99.5% anhydrous ethanol) ไม่มีปัญหาเรื่องการดูดซับความชื้นในอากาศ etOH diesel etOH 99.5%

  10. ค่าความเป็นกรด (acidity) อยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ยกเว้น ตัวอย่างที่ใช้เอทานอลไร้น้ำ (99.5% anhydrous ethanol)ที่มีค่าเกินเกณฑ์มาเล็กน้อย ค่าการนำไฟฟ้า (electrical conductivity) ของตัวอย่างที่ใช้สารเติมแต่งเทียบเคียง (GE & ME) มีค่าต่ำ อยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ ของตัวอย่างที่ใช้สารเติมแต่ง Sekab มีค่าสูงขึ้นหลังจากสัปดาห์ที่ 6ทั้ง E95 & E99.5 อาจเป็นเพราะการเสื่อมสภาพของสารเติมแต่งที่ก่อให้เกิดสารประกอบอนินทรีย์ S: SEKAB GE: Glycerol Ethoxylate ME: BDF ผลการวัด (0, 1, 2, 3, 4, 6, 8, 10 สัปดาห์) Both E95 & E99.5 etOH 99.5% etOH etOH Acidity Conductivity

  11. ข้อสรุปฝ่ายควบคุมคุณภาพเชื้อเพลิง (1) • คุณภาพเชื้อเพลิง ED95 ระหว่างการใช้งาน (shelf-life testing) • ค่าความหนาแน่น (density) และค่าน้ำ (water content) อยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ในระยะเวลาการเก็บ 10 สัปดาห์ • ค่าความเป็นกรด (acidity) อยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ยกเว้นตัวอย่างที่ใช้เอทานอลไร้น้ำ (99.5% anhydrous ethanol) ที่มีค่าเกินเกณฑ์มาเล็กน้อย • ค่าการนำไฟฟ้า (electrical conductivity) ของตัวอย่างที่ใช้สารเติมแต่ง Sekab มีค่าสูงขึ้นหลังจากสัปดาห์ที่ 6 ทั้ง E95 & E99.5 อาจเป็นเพราะการเสื่อมสภาพของสารเติมแต่งที่ก่อให้เกิดสารประกอบ อนินทรีย์ • ศึกษาความเป็นไปได้ในการใช้ • สารเติมแต่งเทียบเคียงเพื่อผลิตเชื้อเพลิง ED95 • สารเติมแต่ง GE และ ME มีความเป็นไปได้ในการนำมาใช้ แต่ต้องพิจารณาปัจจัยอื่นควบคู่กันไป • เอทานอลไร้น้ำ (99.5%) ทดแทนเอทานอลมีน้ำ (95%) ในการผลิตเชื้อเพลิง ED95 สามารถทำได้แต่ • อาจทำให้ค่าความเป็นกรด (acidity) สูงกว่าเกณฑ์เล็กน้อย • อาจทำให้ค่าการนำไฟฟ้า (conductivity) สูงขึ้นหลังจากสัปดาห์ที่ 6

  12. ข้อสรุปฝ่ายควบคุมคุณภาพเชื้อเพลิง (2) • อย่างไรก็ตามเกณฑ์ที่ใช้เปรียบเทียบเป็น specs เอทานอลก่อนผสมสารเติมแต่ง ที่ทาง Scania แนะนำ (ยังไม่มี spec ของ finished fuel ED95) • จากการใช้รถ ED95 มากว่า 20 ปีในสวีเดน ทางบริษัท Scania ไม่แนะนำให้ใช้เอทานอลไร้น้ำ(anhydrous ethanol) เพราะ • เอทานอล 99.5% ส่งผลให้เกิดฟองอากาศในปั๊มเชื้อเพลิง • เอทานอล 99.5% ส่งผลให้เกิด coatings and deposits ในระบบเชื้อเพลิง • เอทานอล 99.5% ส่งผลให้อุณหภูมิการเผาไหม้สูงขึ้น ซึ่งทำให้เกิด NOx มากขึ้น • หากมีการใช้ ED95 ในประเทศ ควรคำนึงถึง • การเสื่อมสภาพของสารเติมแต่ง Sekab ต่อสภาพภูมิอากาศในประเทศ ที่อาจทำให้เกิดสารประกอบอนินทรีย์ ซึ่งทำให้ค่าการนำไฟฟ้า (conductivity) สูงขึ้นหลังจากสัปดาห์ที่ 6 • การกำหนดมาตรฐาน ethanol base และ/หรือ finished fuel ED95 ที่สอดคล้องกับสภาวะการใช้งานในประเทศ • กรอบระยะเวลาในการเก็บเชื้อเพลิงที่เหมาะสม เพื่อป้องกันการเสื่อมสภาพ

  13. จบการนำเสนอ

More Related