1 / 27

ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยวินัย ทางงบประมาณและการคลัง พุทธศักราช 2544

ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยวินัย ทางงบประมาณและการคลัง พุทธศักราช 2544. วินัยทางงบประมาณและการคลัง. ได้กำหนด ความผิด ไว้ 7 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 การ รับเงิน การเก็บรักษาเงิน และการ นำ เงิน ส่ง ส่วนที่ 2 การ เบิกเงิน และการ จ่ายเงิน

Télécharger la présentation

ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยวินัย ทางงบประมาณและการคลัง พุทธศักราช 2544

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยวินัยทางงบประมาณและการคลัง พุทธศักราช 2544

  2. วินัยทางงบประมาณและการคลัง ได้กำหนดความผิดไว้ 7 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่ 1 การรับเงิน การเก็บรักษาเงิน และการนำเงินส่ง ส่วนที่ 2 การเบิกเงินและการจ่ายเงิน ส่วนที่ 3 การบริหารงบประมาณและการก่อหนี้ผูกพัน ส่วนที่ 4 การจัดเก็บรายได้ ส่วนที่ 5 เงินยืม ส่วนที่ 6 การพัสดุ ส่วนที่ 7 ความผิดอื่น

  3. ระเบียบ คตง. ว่าด้วยวินัยทางงบประมาณ และการคลัง พ.ศ. 2544 • โทษชั้น 1 1 เดือน ไม่ปิดประกาศ • โทษชั้น 2 2-4 เดือน เบิกจ่ายพัสดุไม่ถูก ไม่ตรวจสอบประจำปี • โทษชั้น 3 5-8 เดือน พิจารณาผลไม่ถูก ไม่พิจารณาราคาต่ำสุด • โทษชั้น 4 9-12 เดือน แบ่งแยกวงเงิน กำหนดรายละเอียดกีดกัน

  4. ให้คำวินิจฉัยลงโทษทางวินัยของ คตง. มีผลทางกฎหมายเช่นเดียวกับคำสั่งลงโทษ ตัดเงินเดือนที่สั่งโดยผู้บังคับบัญชาของ หน่วยรับตรวจ คตง. จะนำคำวินิจฉัยลงโทษทางวินัย งบประมาณและการคลังประกาศในราชกิจจา- นุเบกษาด้วยก็ได้ เพื่อปรามผู้ละเมิดวินัย โดยทั่วไป(ม.24) 10

  5. การวินิจฉัยลงโทษทางวินัยทางงบประมาณและการคลัง ไม่เป็นการตัดอำนาจของผู้บังคับบัญชาของผู้ถูกลงโทษ ที่จะพิจารณาลงโทษทางวินัยเพราะเหตุเดียวกันนี้อีก แต่ต้องเป็นโทษสถานอื่น ซึ่งมิใช่เป็นโทษตัดเงินเดือนหรือลดขั้นเงินเดือน(พ.ร.บ.ประกอบฯ ม.25) 11

  6. บทกำหนดโทษ  คิดตามเงินเดือนที่พึงได้รับในเวลาที่ทำผิด ในหน่วยรับตรวจที่ผู้ต้องโทษสังกัดอยู่หรือ ปฏิบัติงานอยู่ หักเงินเดือนนำส่งเป็นรายได้แผ่นดิน ภายใน 5 วันทำการนับแต่วันที่หักเงินเดือนนั้น ถ้าพ้นจากสถานะเจ้าหน้าที่ ให้คณะกรรมการ ตรวจเงินแผ่นดิน ออกคำสั่งเรียกให้ชำระเงินค่าปรับ และนำ พ.ร.บ.วิธีปฏิบัติราชการทางปกครองมาใช้ บังคับโดยอนุโลม 16

  7. บทกำหนดโทษ(ต่อ)  กระทำผิดกรรมเดียว ผิดหลายข้อ ให้ใช้ข้อ ที่มีโทษชั้นสูงสุด  กระทำผิดหลายกรรมต่างกัน รับโทษตาม ความผิดทุกข้อ  โทษปรับนี้ระงับไปเนื่องจากเหตุถึงแก่ ความตาย 17

  8. การรอการลงโทษปรับทางปกครองการรอการลงโทษปรับทางปกครอง ต้องครบองค์ประกอบ 3 ข้อคือ • 1. เป็นความผิดที่มีอัตราโทษชั้นที่ 1 หรือ 2 • 2. อยู่ในระหว่างทดลองปฏิบัติราชการ หรือ • ย้ายมาทำหน้าที่ใหม่ได้ไม่เกิน 6 เดือน • หรือยังไม่บรรลุนิติภาวะ • 3. ไม่เคยทำผิดวินัยตามระเบียบนี้มาก่อน 18

  9. การเพิ่มโทษปรับทางปกครองการเพิ่มโทษปรับทางปกครอง มี 2 กรณีคือ • 1.มีคำวินิจฉัยชี้ขาดของ คตง. ให้รับโทษปรับ • ทางปกครองและกระทำความผิดระหว่างที่ยัง • ต้องรับโทษปรับทางปกครอง • 2.มีคำวินิจฉัยชี้ขาดของ คตง. ให้รับโทษปรับ • ทางปกครองและกระทำความผิดภายใน 5 ปี • นับแต่วันมีคำวินิจฉัยชี้ขาดของ คตง. 19

  10. เหตุยกเว้นโทษ • ถ้าทำผิดเพราะต้องทำตามคำสั่ง • ผู้บังคับบัญชา และพิสูจน์ได้ว่า • ได้โต้แย้งหรือคัดค้านคำสั่งนั้นแล้ว 20

  11. อายุความ • ขาดอายุความ ถ้ามิได้ดำเนินกระบวนพิจารณาความผิด • ภายใน 5 ปี นับแต่วันทำผิด 21

  12. สรุป การกำหนดโทษปรับทางปกครองนั้น • มิได้มีขึ้นเพื่อหาทางลงโทษผู้กระทำผิด หากแต่มีขึ้นเพื่อป้องปรามมิให้เกิดการกระทำผิด

  13. ที่ น.ว 89/2497 กรมสารบรรณคณะรัฐมนตรีฝ่ายบริหาร 1 เมษายน 2497 เรื่อง ข้าราชการอ้างว่าไม่รู้กฎหมายและระเบียบแบบแผนในหน้าที่ เรียน (เวียนกระทรวงทบวงกรม) ด้วยในคราวประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 2 9 มีนาคม 2497 ได้พิจารณาเห็นว่าข้าราชการแต่ละคนย่อมมีหน้าที่ๆจะต้องรับผิดชอบตามตำแหน่งหน้าที่ของตน หากไม่ได้ปฏิบัติงานในหน้าที่ก็ดีหรือละเว้นมิได้ปฏิบัติก็ดี เป็นเหตุให้เกิดความเสียหายแก่ราชการแล้วจะอ้างว่าไม่รู้กฎหมายหรือระเบียบแบบแผนข้อบังคับของทางราชการมิได้ จึงได้ลงมติว่า ข้าราชการผู้มีหน้าที่ปฏิบัติการอย่างใดอย่างหนึ่ง จะอ้างว่าไม่รู้กฎหมายหรือระเบียบแบบแผนข้อบังคับอันตนจะต้องปฏิบัติ และอยู่ในหน้าที่ของตนมิได้ การที่ข้าราชการปฏิบัติงานไม่ชอบด้วยกฎหมายระเบียบแบบแผนก็ดี หรือละเลยไม่ปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมายและระเบียบแบบแผนที่กำหนดไว้ก็ดี ให้ถือว่าเป็นการผิดวินัยหรือหย่อนสมรรถภาพ แล้วแต่กรณี และให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาลงโทษตามควรแต่กรณีต่อไป จึงขอยืนยันมา ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง (ลงนาม) ชำนาญอักษร (หลวงชำนาญอักษร) เลขาธิการคณะรัฐมนตรีฝ่ายบริหาร

  14. คำขวัญ ขอฝาก ทุกท่าน • ชีวิตเปรียบเสมือนเรือที่ลอยล่อง หางเสือต้องถือมั่นไม่หวั่นไหว • ยามคลื่นจัด พัดกระหน่ำจงทำใจ ว่าโพยภัยทุกข์มหันต์นั้นธรรมดา • ทำทุกอย่าง ทุกหน้าที่ให้ดีเลิศ ใครไม่เห็นช่างเถิด อย่าหวั่นไหว • ขอเพียงแต่พระรับรู้สู้ต่อไป ความสว่าง สุกไสว จะตามมา

  15. พระบรมราโชวาท “ในหลวง” • มีนิทานโบราณของฝรั่งบอกว่า มีคน มีแขน มีขา มีลำตัว มีศีรษะ มีเครื่องใน เขาบอกว่าพวกนี้มาประชุมเดินขบวนประท้วงว่าทุกคนมีหน้าที่ นำกายเหน็ดเหนื่อยหนักมาก มีคนเดียวที่ไม่ทำงานคือท้อง มีแต่กินรับอาหารกินเข้าไป คนอื่นมือต้องทำงานหนัก ขาต้องเดิน ท้องนี้มีแต่รับประทานเขาจะปฏิวัติท้อง ท้องก็บอกว่าท่านทั้งหลายใจเย็น ๆ ถ้าไม่มีท้องร่างกายทั้งหมดก็ตาย เพราะไม่มีอาหารมาย่อยที่ท้อง ท้องก็ทำงานเหมือนกัน การประสานงานทุกอย่างจึงจำเป็น อย่างท่านทั้งหลาย ท่านก็เป็นเหมือนท้อง ท่านต้องรับหน้าที่หมด รู้เรื่องงานทั้งหมด

  16. “คำคม” สำหรับการบริหารงานบุคคลยุคใหม่ • งานก็สน คนก็สร้าง • มองคนออก บอกคนได้ ใช้คนเป็น เห็นใจคนอื่น • คนไม่ใช่เครื่องจักร ต้องการความรักและความเข้าใจ • ยิ้มแย้มแจ่มใส ตั้งใจสนทนา วาจาไพเราะ สงเคราะห์เกื้อกูล • ไม่ยึดมั่นถือมั่นฉันเก่งกว่า ความขัดแย้งนานาคงแก้ไขได้ ก่อนจะโทษว่าใครผิดคิดแก้ไข ควรแก้ไขก่อนเขาคือ “เราเอง” • เขามีส่วนเลวบ้างช่างหัวเขา จงเลือกเอาส่วนที่ดีเขามีอยู่ เป็นประโยชน์แก่โลกบ้างยังน่าดู ส่วนที่ชั่วอย่าไปรู้ของเขาเลย

  17. จุดดับจากการบริหารงานจุดดับจากการบริหารงาน • ไม่ได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารระดับสูงอย่างเพียงพอ • ไม่มีระบบงานที่ดี • ขาดสัมพันธภาพระหว่างผู้ร่วมงาน • ข้อมูลเพื่อการบริหารที่ได้มาไม่ครบถ้วนสมบูรณ์ • รายงานทางการเงินไม่เป็นปัจจุบัน • ขาดการติดตาม ประเมินผลการปฏิบัติงาน

  18. ∮นิทานเรื่อง “ตากับตีน” ∮ ตีนกับตาอยู่กันมาแสนผาสุข จะนั่งลุกยืนเดินเพลินหนักหนา วันหนึ่งตีนทะลึ่งเอ่ยปรัชญา ว่าตีนมีคุณต่อตาเสียจริง ๆ ตีนพาตาไปในที่ต่าง ๆ ตาจึงได้ชมนางและสรรพสิ่ง เพราะฉะนั้นดวงตาจงประวิง ว่าตีนนี้เป็นสิ่งควรบูชา ตาได้ฟังตีนโม้ก็หมั่นไส้ จึงร้องบอกออกไปด้วยโทสา ว่าที่ตีนไปไหนมาไหนได้ก็เพราะตา ดูมรรคาเศษแก้วหนามไม่ตำตีน เพราะฉะนั้นตาจึงสำคัญกว่า ขอตีนอย่าได้มาคิดดูหมิ่น

  19. ∮นิทานเรื่อง “ตากับตีน” ∮(ต่อ) สรุปแล้วตามีค่าสูงกว่าตีน ทั่วธานินทร์ตีนไปได้ก็เพราะตา ตีนได้ฟังคับแค้นแสนจะโกรธ ก็พิโรธกระโดดไปใกล้หน้าผา เพราะอวดดีคุยเบ่งเก่งกว่าตา ดวงชีวาจะดับไปไม่รู้ตัว ตาเห็นตีนทำเก่งเร่งกระโดด ก็พิโรธแกล้งระงับหลับตาเฉย ตีนพาตาถลำล้มทั้งก้มเงย ตกแล้วเหวยตายห่าทั้งตาตีน

  20. ผู้นำต้องกล้า: กล้าคิด กล้าทำ กล้านำ กล้าเปลี่ยนแปลง กล้า คิดกล้าพูดทั้ง กล้าทำ กล้าประกอบกุศลกรรม ก่องกล้า กล้าเผชิญอยุติธรรม โดยสุจ-ริตนา กล้าประกาศสัจจะท้า กลุ่มผู้ อาธรรม

  21. จบวิชาการ

  22. Help Me! <www.oag.go.th>

  23. กลับบ้านเรา รักรออยู่ !

  24. ถาม - ตอบ

  25. ถาม - ตอบ

More Related