370 likes | 662 Vues
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. สำนักงานยุทธศาสตร์และการบูรณาการ สู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ. CAMBODIA. อาเซียน : สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้. ปี 2540. ปี 2540. ปี 2510. ปี 2538. ปี 2510. ปี 2510. ปี 2542. ปี 2527.
E N D
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน สำนักงานยุทธศาสตร์และการบูรณาการ สู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ
CAMBODIA อาเซียน : สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปี 2540 ปี 2540 ปี 2510 ปี 2538 ปี 2510 ปี 2510 ปี 2542 ปี 2527 ASEAN (Association of South East Asian Nations) ปี 2510 ปี 2510
2 ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) ปี 2558 (2015) ชุมชนอาเซียน กฎบัตรอาเซียน ประชาคม เศรษฐกิจ อาเซียน (AEC) ประชาคม ความมั่นคง อาเซียน (ASC) ASEAN Charter พิมพ์เขียว AEC (AEC Blueprint) One Vision One Identity One Community ประชาคม สังคม-วัฒนธรรม อาเซียน (ASCC)
วิวัฒนาการทางเศรษฐกิจของอาเซียน Building Blocs of ASEAN Integration 3 Bangkok Declaration ASEAN 2510 CEPT-AFTAAgreement on the Common Effective Preferential Tariff Scheme for ASEAN Free Trade Area 2535 AFAS ASEAN Framework Agreement on Services 2538 AICO ASEAN Industrial Cooperation Scheme 2539 AIAFramework Agreement on the ASEAN Investment Area ASEAN Framework Agreement on the Facilitation of Goods in Transit 2541 ASEAN CharterASEAN Community + Declaration on AEC Blueprint 2550 ATIGA ASEAN Trade in Goods Agreement 2552 2554 ACIA ASEAN Comprehensive Investment Agreement
4 4 เป้าหมายภายใต้ AEC Blueprint เพื่อประสานกลายเป็นหนึ่งเดียว คือ อาเซียน 1. การเป็นตลาดและฐานการผลิตเดียว 2. การสร้างเสริมขีดความสามารถแข่งขัน เคลื่อนย้ายสินค้าอย่างเสรี นโยบายการแข่งขัน เคลื่อนย้ายบริการอย่างเสรี การคุ้มครองผู้บริโภค AEC 2015 สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญา เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี โครงสร้างพื้นฐาน เคลื่อนย้ายแรงงานมีฝีมืออย่างเสรี นโยบายภาษี เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรีมากขึ้น e-ASEAN 3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก สนับสนุนการพัฒนา SMEs ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครือข่ายการผลิต จำหน่าย ลดช่องว่างการพัฒนา IAI จัดทำ FTA กับประเทศนอกภูมิภาค การมีส่วนร่วมภาครัฐ-เอกชน PPE
5 1. อาเซียนจะกลายเป็นตลาดร่วมอย่างสมบูรณ์ ภาษีนำเข้าเป็นศูนย์/อุปสรรคนำเข้าระหว่างอาเซียนด้วยกันหมดไป ตลาด 10 ประเทศรวมเป็นหนึ่ง สินค้า ทำธุรกิจบริการในอาเซียนได้อย่างเสรี บริการ การลงทุนในอาเซียนทำได้อย่างเสรี การลงทุน การเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมือเสรี แรงงานฝีมือ การเคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรียิ่งขึ้น เงินทุน ความมั่นคงด้านอาหาร เกษตร ป่าไม้ ความร่วมมือ
6 1.1 ภาษีสินค้า/อุปสรรคนำเข้าจะหมดไปกลายเป็นตลาดอาเซียน 1. ภาษีนำเข้าสินค้า – ต้องเป็นศูนย์(ลดเป็นลำดับตั้งแต่ปี 2536) - 1 ม.ค. 53อาเซียน 6 (SG 100%, TH 99.8%,BR 99.2%, PH 99%, IN 98.7%, ML 98.4%) - 1 ม.ค. 58 อาเซียน 4 (CLMV) 2. อุปสรรคทางการค้าที่มิใช่ภาษี (Non-Tariff Barriers: NTBs) - ต้องหมดไป - อาเซียน 5 (1 ม.ค. 53) ฟิลิปปินส์ (1 ม.ค. 55) CLMV (1 ม.ค. 58) 3. กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า (ROOs) – เพิ่มทางเลือกอย่างเท่าเทียม (co-equal) - RVC (40), CTC, PSRs 4. มาตรฐานร่วม – ให้สอดคล้องกับระบบสากลและระหว่างอาเซียน -เครื่องใช้ไฟฟ้า ความปลอดภัยทางไฟฟ้า องค์ประกอบด้านแม่เหล็กไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์ยาง เภสัชกรรม (กำลังดำเนินการ - เกษตร ประมง ไม้ ยานยนต์ วัสดุก่อสร้าง เครื่องมือแพทย์ ยาแผนโบราณ อาหารเสริม) 5. พิธีการทางศุลกากรที่ทันสมัย - อำนวยความสะดวกทางการค้า - ASEAN Single Window, Self-Certification
1.2 อาเซียนสามารถถือหุ้นได้ถึง 70% ในธุรกิจบริการในอาเซียน 7 ปี 2556 (2013) ปี 2553 (2010) ปี 2551 (2008) ปี 2558 (2015) ปี 2549 (2006) สาขาเร่งรัดการรวมกลุ่ม e-ASEAN (โทรคมนาคม-คอมพิวเตอร์) สุขภาพ/ท่องเที่ยว/การบิน 70% PIS: Priority Integration Sectors โลจิสติกส์ 70% 49% 51% 70% สาขาอื่นๆ 49% 51% 49% 51% เป้าหมายการเปิดเสรีบริการ = 128สาขาย่อย ไทยสามารถขยายธุรกิจบริการในอาเซียนได้ โดยเฉพาะในสาขาที่ไทยมีความเข้มแข็ง เช่น ท่องเที่ยว โรงแรม ร้านอาหาร สุขภาพ ซ่อมรถ ก่อสร้าง การศึกษา เป็นต้น รวมทั้งดึงดูดการลงทุนเข้ามาในประเทศมากขึ้น ในขณะเดียวกัน เป็นช่องทางให้อาเซียนเข้ามาประกอบธุรกิจบริการในไทยได้สะดวกขึ้น เกิดการแข่งขัน ทำให้เอกชนไทยมีโอกาสพัฒนาธุรกิจมากขึ้น FLEXIBILITY สามารถไม่เปิดเสรี ในบางสาขาได้
1.3 อาเซียนจะกลายเป็นศูนย์กลางการลงทุนทั่วโลก 8 NT – MFNการลงทุนในอาเซียนจะเปิดเสรีและโปร่งใสมากขึ้น FLEXIBILITY หากยังไม่พร้อมเปิดเสรี สามารถทำข้อสงวนไว้ได้ • Challenges • นโยบายเชิงรุกเพื่อดึงดูดเงินลงทุนจากต่างประเทศ โดยสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการลงทุน • นโยบายสนับสนุนให้มีการลงทุนในต่างประเทศมากขึ้น FDI Portfolio เกษตร บริการเกี่ยวเนื่อง ประมง ป่าไม้ เหมืองแร่ การผลิต • ACIAความตกลงว่าด้วยการลงทุนอาเซียน (ASEAN Comprehensive Investment Agreement) - ลงนามปี 2552 • IGAความตกลงว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุนอาเซียน (ASEAN Agreement for the Promotion and Protection of Investment/ Investment Guarantee Agreement) - ปี 1987 • AIAกรอบความตกลงว่าด้วยเขตการลงทุนอาเซียน (Framework Agreement on the ASEAN Investment Area) - ปี 1998
1.4 อาเซียนได้รับการอำนวยความสะดวกในการประกอบวิชาชีพมากขึ้น 9 MRA ไม่ได้เป็นการเปิดตลาดแต่เป็นเพียงการอำนวยความสะดวกในขั้นตอนการขอใบอนุญาต โดยลดขั้นตอนการตรวจสอบ/รับรองวุฒิการศึกษาหรือความรู้ทางวิชาชีพ สาขาวิศวกรรม MRAs ข้อตกลงยอมรับ นักวิชาชีพในอาเซียนสามารถจดทะเบียนหรือขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในประเทศอาเซียนอื่นได้ แต่ยังต้องปฏิบัติตามกฏระเบียบภายในของประเทศนั้นๆ สาขานักสำรวจ* สาขานักบัญชี* สาขาสถาปัตยกรรม สาขาแพทย์ สาขาพยาบาล สาขาทันตแพทย์ * ยังเป็นเพียง Framework หรือ หลักการกว้างๆ โดยต้องมีการเจรจาในรายละเอียดต่อไป
1.5 อาเซียนจะมีการรวมตัวของตลาดเงินและตลาดทุนอย่างเป็นระบบ 10
1.6 อาเซียนเสริมสร้างความร่วมมือรองรับการเปิดเสรีในอนาคต 11 อาหาร สร้างความมั่นคงทางอาหารและบรรเทาปัญหาเร่งด่วน/ขาดแคลน สร้างระบบและกระบวนการในการควบคุมคุณภาพอาหาร จัดทำระบบการรับรองให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน เกษตรพัฒนาแนวทางปฏิบัติที่ดีทางการเกษตร มาตรฐานการผลิต เก็บเกี่ยว และจัดการหลังเก็บเกี่ยว กำหนดระดับปริมาณสารพิษตกค้างและเกณฑ์การรับรองสินค้าปศุสัตว์ ป่าไม้จัดการทรัพยากรป่าไม้อย่างยั่งยืนและกำจัดพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม โดยการเสริมสร้างศักยภาพของบุคลากร การถ่ายทอดเทคโนโลยี การสร้างความเข้มแข็งของการบังคับใช้กฎหมาย
12 2. อาเซียนจะเป็นภูมิภาคที่มีความสามารถในการแข่งขันสูง นโยบายการแข่งขันผลักดันให้ทุกประเทศมีนโยบายและกฎหมายการแข่งขัน เพื่อสร้างวัฒนธรรมของการแข่งขันทางธุรกิจที่ยุติธรรม (ประเทศที่มีกฎหมายแข่งขัน ได้แก่อินโดนีเซีย สิงคโปร์ ไทย) จัดตั้งคณะผู้เชี่ยวชาญเพื่อหารือและประสานงาน การคุ้มครองผู้บริโภคพัฒนามาตรการด้านการคุ้มครองผู้บริโภคควบคู่กับมาตรการด้านเศรษฐกิจ (ประเทศที่มีกฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค ได้แก่ อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย เวียดนาม ลาว) จัดตั้งคณะกรรมการเพื่อเป็นศูนย์กลางประสานงานในการปฏิบัติ/ตรวจสอบกลไกภายในภูมิภาค สิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาบังคับใช้แผนปฏิบัติการสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาและแผนงานด้านลิขสิทธิ์ จัดตั้งระบบการจัดเก็บเอกสารสำหรับการออกแบบ โครงสร้างพื้นฐานจัดทำแผนยุทธศาสตร์ด้านการขนส่งเพื่อสร้างความเชื่อมโยงด้านการขนส่งทุกรูปแบบ (ทางบก ทางอากาศ ทางน้ำ) และอำนวยความสะดวกในการเคลื่อนย้ายสินค้า จัดทำแผนปฏิบัติการส่งเสริมความมั่นคงด้านพลังงาน (ไฟฟ้า ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน) เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT)จัดทำแผนแม่บทด้าน ICTกำหนดมาตรการเพื่ออำนวยความสะดวกด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ภายใต้กรอบความตกลง e-ASEAN
13 3. อาเซียนจะเป็นภูมิภาคที่มีการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่เท่าเทียมกัน
India ACFTA AIFTA China AEC AJCEP AANZFTA Australia New Zealand Japan AKFTA Korea 4. อาเซียนจะเป็นภูมิภาคที่มีการบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก 15 5 FTAs ระหว่างอาเซียนกับประเทศคู่เจรจา – ปัจจุบัน สินค้า : ลงนาม 29 พ.ย. 47 มีผล 1 ม.ค. 48 บริการ : ลงนาม 14 ม.ค. 50 มีผล 1 ก.ค. 50 ลงทุน : ลงนาม 15 ส.ค. 52 มีผล เม.ย. 53 สินค้า : ลงนาม 13 ส.ค. 52 มีผล 1 ม.ค. 53 บริการ/ลงทุน : กำลังเจรจา สินค้า/บริการ/ลงทุน : ไทยลงนาม 11 เม.ย. 51 สำหรับไทย มีผล 2 มิ.ย. 52 สินค้า/บริการ/ลงทุน : ลงนาม 26 ก.พ. 52 มีผล 1 ม.ค. 53 (ไทยให้สัตยาบัน 12 มี.ค. 53) สินค้า : อาเซียนอื่นลงนาม 28 ส.ค. 49 บริการ : อาเซียนอื่นลงนาม 21 พ.ย. 50 ไทย :บริการ ลงนาม 27 ก.พ. 52 มีผล 1 มิ.ย. 52 สินค้า ลงนาม 27 ก.พ. 52 มีผล 1 ต.ค. 52 ลงทุน: ทุกประเทศ ลงนาม 2 มิ.ย. 52 มีผล 31 ต.ค. 52
CEPEA (Comprehensive Economic Partnership in East Asia) (ASEAN +6) EAFTA (East Asia FTA) (ASEAN +3) Australia New Zealand China Japan AEC Korea India การขยาย FTAs ของอาเซียน – อนาคต… ASEAN10 : 598ล้านคน( 9% ของประชากรโลก ) GDP 1,858พันล้าน US$( 2% ของ GDP โลก) EAFTA (ASEAN +3) : ประชากร 2,116ล้านคน( 31% ของประชากรโลก ) GDP 14,204พันล้าน US$ (18% ของ GDP โลก) CEPEA(ASEAN +6) :ประชากร 3,358ล้านคน (50% ของประชากรโลก ) GDP 17,118พันล้าน US$ (22% ของ GDP โลก)
ไทยอยู่ตรงไหน ?? ในอาเซียน
16 ไทยอยู่ตรงไหน??ในอาเซียน Note: Latest available data in Year 2010 Source: ASEAN Secretariat Database
เทียบกับอาเซียนไทยมีศักยภาพเป็นลำดับต้นๆเทียบกับอาเซียนไทยมีศักยภาพเป็นลำดับต้นๆ Note: Latest available data in Year 2009 Source: ASEAN Secretariat Database as of 15 February 2011
ไทยเป็นประเทศที่ต่างชาติเข้ามาลงทุนในอันดับ 3 ประเทศที่เข้ามาลงทุนในอาเซียนมากที่สุด ได้แก่ สหภาพยุโรป สหรัฐฯ และตามมาติดๆๆ อย่าง จีน ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ได้เข้ามาลงทุนในอาเซียนเพิ่มขึ้น Note: Latest available data in Year 2009 Source: ASEAN Secretariat Database as of 15 February 2011
ไทยกับอาเซียน ตลาดส่งออกหลักของไทย ปี 2535 กับปี 2554 ปี 2554 ปี 2553 ปี 2535 อาเซียน23.7% ส่งออกรวม 32,609.1 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ส่งออกรวม 228,825.3 ล้านเหรียญสหรัฐฯ • Note • AFTA เริ่มเจรจาปี 2535 และเริ่มลดภาษีปี 2536 (1993) • ASEAN 6 ภาษีเป็นร้อยละ 0 ตั้งแต่ 1 ม.ค.2553 (2010)
ไทยกับอาเซียน แหล่งนำเข้าหลักของไทย ปี 2535 กับปี 2554 ปี 2535 ปี 2553 อาเซียน 16.2% นำเข้ารวม 40,615.8 ล้านเหรียญสหรัฐฯ นำเข้ารวม 228,490.9 ล้านเหรียญสหรัฐฯ • Note • AFTA เริ่มเจรจาปี 2535 และเริ่มลดภาษีปี 2536 (1993) • ASEAN 6 ภาษีเป็นร้อยละ 0 ตั้งแต่ 1 ม.ค.2553 (2010)
19 การค้าระหว่างไทย-อาเซียน ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร
20 ตลาดส่งออกของไทยในอาเซียน ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร
21 สินค้าส่งออกของไทยในอาเซียน ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร
22 แหล่งนำเข้าของไทยจากอาเซียน ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร
23 สินค้านำเข้าของไทยจากอาเซียน ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร
24 สินค้าที่ไทยได้เปรียบ/เสียเปรียบ • สินค้าที่ไทยได้เปรียบ สินค้าเกษตรและอุปโภคบริโภค เช่น ข้าว ธัญพืช • ผลไม้สดและแปรรูป อาหาร สินค้าหัตถกรรมเช่น ผ้าทอ ตุ๊กตาไม้ ของตกแต่งบ้าน • สินค้าอุตสาหกรรม เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ รถยนต์และชิ้นส่วน สินค้าที่ไทยได้เปรียบ สินค้าที่มีข้อกังวลว่าจะได้รับผลกระทบจากการเปิด เสรีการค้าในอาเซียน เช่น น้ำมันปาล์ม (มาเลเซีย) เมล็ดกาแฟ (เวียดนาม) มะพร้าว (ฟิลิปปินส์) และ ชา (อินโดนีเซีย)
25 บริการที่ไทยได้เปรียบ/เสียเปรียบ • บริการที่ไทยได้เปรียบ การท่องเที่ยว ภาคบริการที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว • อาทิ ร้านอาหาร และโรงแรม • บริการด้านสุขภาพเช่น โรงพยาบาล บริการสปา นวดแผนไทย บริการที่ไทยเสียเปรียบ สาขาที่มีข้อกังวลว่าจะได้รับผลกระทบ เช่น โลจิสติกส์ โทรคมนาคม สาขาที่ต้องใช้เงินลงทุน และเทคโนโลยีสูง ธุรกิจสถาปนิกขนาดกลางและ ขนาดเล็ก
ผลกระทบด้านบวกต่อ SMEs นำเข้าวัตถุดิบ/สินค้ากึ่งสำเร็จรูปมาผลิตโดยไม่มีภาษีนำเข้า ส่งออกสินค้าในตลาดอาเซียนที่มีประชากรเกือบ 600 ล้านคน ต้นทุนภาคบริการลดลงจากการเปิดเสรี เช่น ขนส่ง โลจิสติกส์ การเงิน ฯลฯ เคลื่อนย้ายเงินทุนเสรีมากขึ้น เช่น การโอนผลกำไรกลับประเทศ ขยายฐานการผลิตในประเทศอาเซียนเพื่อใช้ทรัพยากรที่มีความได้เปรียบ ลดปัญหาการขาดแคลนแรงงานวิชาชีพจากการอำนวยความสะดวกการเคลื่อนย้ายแรงงาน ต้นทุนการทำธุรกิจลดลงจากมาตรการอำนวยความสะดวกทางการค้า เช่น ASW, Self Certification
ผลกระทบด้านลบต่อ SMEs มีคู่แข่งทางการค้าสินค้าและการให้บริการจากประเทศอาเซียนอื่นเพิ่มขึ้น อาจถูกใช้มาตรการที่มิใช่ภาษีจากประเทศอาเซียนอื่นเพิ่มขึ้น ผู้ประกอบการจากประเทศอาเซียนเข้ามาลงทุนในไทยมากขึ้น ทำให้การแข่งขันสูงขึ้น อาจถูกแย่งแรงงานวิชาชีพไปทำงานในประเทศอาเซียนอื่น อาจถูกลอกเลียนแบบสินค้าและบริการโดยประเทศอาเซียนอื่น
32 ตัวอย่างมาตรการรองรับผลกระทบของภาครัฐ
ภาครัฐไทยควรปรับตัวอย่างไรภาครัฐไทยควรปรับตัวอย่างไร • รับรู้ สร้างความเข้าใจ ข้อมูล AEC • วิเคราะห์ผลกระทบ ทั้งบวกและลบ • กำหนดยุทธศาสตร์รองรับการเปลี่ยนแปลง • สร้างความเข้าใจ การรับรู้สู่ประชาชนในพื้นที่ โดยเฉพาะกลุ่มผลกระทบ • ขยายผลสำหรับกลุ่มที่มีโอกาส ใช้จุดแข็งที่มี • พัฒนาบุคลากร เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง • ปรับปรุงกฎหมาย กฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง เพื่อประโยชน์ของประเทศ • สร้างเครือข่ายร่วมภาครัฐ เอกชน เพื่อร่วมดำเนินการ
35 ขอบคุณ “เรียนรู้ ใส่ใจ ใช้ประโยชน์ AEC” Call Center : 0-2507-7555 www.dtn.go.th