1 / 12

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุรา

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุรา. สุรา หมายถึง วัตถุทั้งหลายหรือของผสมที่มีแอลกอฮอล์ ซึ่งสามารถดื่มกินได้เช่นเดียวกับน้ำสุราหรือซึ่งดื่มกินไม่ได้แต่เมื่อได้ผสมกับน้ำหรือของเหลวอย่างอื่นแล้ว สามารถดื่มกินได้เช่นเดียวกับน้ำสุรา สุราแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ สุราแช่ สุรากลั่น.

Télécharger la présentation

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุรา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุราความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสุรา สุรา หมายถึง วัตถุทั้งหลายหรือของผสมที่มีแอลกอฮอล์ ซึ่งสามารถดื่มกินได้เช่นเดียวกับน้ำสุราหรือซึ่งดื่มกินไม่ได้แต่เมื่อได้ผสมกับน้ำหรือของเหลวอย่างอื่นแล้ว สามารถดื่มกินได้เช่นเดียวกับน้ำสุรา สุราแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ สุราแช่ สุรากลั่น

  2. “สุราแช่” หมายถึง สุราที่ไม่ได้กลั่นและให้ความหมายรวมถึงสุราแช่ที่ได้ผสมกับสุรากลั่นแล้ว แต่ยังมีแรงแอลกอฮอล์ไม่เกินสิบห้าดีกรีด้วย“สุรากลั่น” หมายถึง สุราที่กลั่นแล้ว และให้ความหมายรวมถึงสุรากลั่นที่ผสมสุราแช่แล้ว แต่มีแรงแอลกอฮอล์เกินกว่าสิบห้าดีกรีด้วย

  3. “สุราแช่” ประกอบด้วย1. เบียร์2. ไวน์และสปาร์กลิ้งไวน์ที่ทำจากองุ่น3. ชนิดสุราแช่พื้นเมือง4. ชนิดอื่นนอกจาก (1),(2) และ (3)“สุรากลั่น” ประกอบด้วย1. สุราขาว2. สุราผสม3. สุราปรุงพิเศษ4. สุราพิเศษ - วิสกี้ - บรั่นดี5. สุราสามทับ - สุราสามทับที่นำไปใช้ในอุตสาหกรรม - สุราสามทับที่นำไปใช้ในการแพทย์ - อื่น ๆ นอกจากเพื่อใช้ในอุตสาหกรรมและทางการแพทย์

  4. อัตราภาษีสุรา

  5. วิธีคำนวณอัตราภาษีสุราวิธีคำนวณอัตราภาษีสุรา มี 2 อัตรา คือ1. ตามปริมาณสูตร ขนาดบรรจุ x แรงแอลกอฮอล์ x อัตราภาษี ตัวอย่าง = ขนาดบรรจุ 0.625 แรงแอลกอฮอล์ 40 ดีกรี อัตราภาษี 150 = 0.625 x 40 x 150 = 37.50 /ต่อขวด2. ตามมูลค่าสูตร ราคาขาย x อัตราภาษี ตัวอย่าง = ราคาขายหน้าโรงงาน 70 บาทต่อขวด อัตราภาษีร้อยละ 50 บาท = 70 x 50 =35 บาทโดยอัตราใดสูงกว่าให้ใช้อัตรานั้นสูตรการหาดีกรีที่ต้องการคือ = ดีกรีปัจจุบัน x ปริมาณน้ำสุรา ดีกรีที่ต้องการเช่น 40 x 100 ลิตร = ปริมาณน้ำสุรา 142.86 ลิตร ที่แรงแอลกอฮอล์ 28 ดีกรี 28

  6. ยาสูบ ยาสูบ ยาสูบ หมายถึง บุหรี่ซิกาแรต บุหรี่ซิการ์ บุหรี่อื่น ยาเส้นปรุงและให้รวมตลอดถึงยาเคี้ยวด้วย บุหรี่ซิกาแรต หมายถึง ยาเส้นหรือยาเส้นปรุง ไม่ว่าจะมีใบยาแห้งหรือยาอัดเจือปนหรือไม่ซึ่งมวนด้วยกระดาษหรือวัตถุที่ทำขึ้นแทนกระดาษ หรือใบยาแห้ง บุหรี่ซิการ์ หมายถึง ใบยาแห้งหรือยาอัด ซึ่งมวนด้วยใบยาแห้งหรือยาอัด บุหรี่อื่น หมายถึง ยาเส้นหรือยาเส้นปรุง ซึ่งมวนด้วยใบตอง กลีบบัว กาบมาก ใบมะกา ใบจาก หรือวัตถุอื่นที่มิใช่กระดาษหรือวัตถุอื่นที่ทำขึ้นแทนกระดาษหรือที่มิใช่ใบยาแห้งหรือยาอัด

  7. ยาเส้นปรุง หมายถึง ใบยาซึ่งมิใช่ใบนาพันธุ์ยาสูบพื้นเมืองหรือยาอัด ซึ่งได้หั่นเป็นเส้นและปรุงหรือปนด้วยวัตถุอื่นนอกจากน้ำ ยาเคี้ยว หมายถึง ส่วนใดส่วนหนึ่งของใบยาแห้งนอกจากใบยาแห้งพันธุ์ยาสูบพื้นเมือง ซึ่งปรุงหรือปนด้วยวัตถุอื่นนอกจากน้ำเพื่ออมหรือเคี้ยว

  8. อัตราภาษียาสูบ อัตราภาษียาสูบ

  9. ฐานในการคำนวณค่าแสตมป์ยาสูบตามมูลค่า (ม.5ตรี) การคำนวณค่าปรับยาสูบ อัตราภาษี x ราคาที่กรมประกาศใช้ในการคำนวณค่าปรับ คือ ซองละ 55 บาท87 x 55 = 47.85 บาท /ซองข้อหา 1. มีไว้ในครอบครอง ปรับ 10 เท่า = 47.85 x 10 = 478.50 /ซอง 2. ขาย ปรับ 15 เท่า = 47.85x 15 = 717.75 /ซอง

  10. ไพ่ที่กรมสรรพสามิตทำขึ้นมี 4 ชนิด คือ ไพ่ ไพ่ หมายความว่า ไพ่ซึ่งทำด้วยกระดาษ หรือหนัง หรือวัตถุอื่นที่กำหนดใน กฎกระทรวง1. ไพ่ผ่องไทย (120 ใบ) 2. ไพ่ผ่องจีน (116 ใบ) 3. ไพ่จีนสี่สี (112 ใบ) 4. ไพ่ป็อก (52 ใบ)

  11. อัตราภาษีไพ่ มาตรา 10 ให้เรียกเก็บค่าธรรมเนียมการประทับตราไพ่ ตามอัตราที่กำหนดในกฎกระทรวง ตามขนาดของไพ่และชนิด ของวัตถุที่ทำไพ่นั้นขึ้น ไม่เกินอัตรา 100 ใบต่อ 30 บาท กฎกระทรวง ฉบับที่ 7 - ไพ่ป๊อก 100 ใบ ต่อ 30 บาท - ไพ่อื่นๆ 100 ใบ ต่อ 20 บาท

More Related