1 / 21

ผลกระทบด้านสุขภาพจากการใช้สาร โปแตสเซียมคลอเรตในกลุ่มคนงานโรงอบลำไยและเกษตรกรผู้ปลูกลำไย

ผลกระทบด้านสุขภาพจากการใช้สาร โปแตสเซียมคลอเรตในกลุ่มคนงานโรงอบลำไยและเกษตรกรผู้ปลูกลำไย. โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นพ.พงศ์เทพ วิวรรธนะเดช และคณะ. บทนำ. โปแตสเซียมคลอเรต สูตรทางเคมี : KClO 3 กลุ่มทางเคมี : Inorganic

leroy
Télécharger la présentation

ผลกระทบด้านสุขภาพจากการใช้สาร โปแตสเซียมคลอเรตในกลุ่มคนงานโรงอบลำไยและเกษตรกรผู้ปลูกลำไย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ผลกระทบด้านสุขภาพจากการใช้สารโปแตสเซียมคลอเรตในกลุ่มคนงานโรงอบลำไยและเกษตรกรผู้ปลูกลำไยผลกระทบด้านสุขภาพจากการใช้สารโปแตสเซียมคลอเรตในกลุ่มคนงานโรงอบลำไยและเกษตรกรผู้ปลูกลำไย โดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นพ.พงศ์เทพ วิวรรธนะเดช และคณะ

  2. บทนำ โปแตสเซียมคลอเรต • สูตรทางเคมี: KClO3 • กลุ่มทางเคมี: Inorganic • ลักษณะ: ของแข็งเป็นผลึกโปร่งแสงหรือผงสีขาวไม่มีกลิ่นรสเค็มเหมือนเกลือไม่ติดไฟแต่ถ้านำไปปนกับสารอินทรีย์เช่นผงถ่านขี้เลื่อยอาจเกิดการระเบิดหรือลุกไหม้ • น้ำหนักโมเลกุล: 122.55

  3. บทนำ (ต่อ) โปแตสเซียมคลอเรต • จุดเดือดที่อุณหภูมิ 400 C และจุดหลอมเหลวที่อุณหภูมิ 368 C ละลายน้ำได้น้อย (น้ำ 100 CC สามารถละลายสารได้ 7.1 กรัมที่ 20 C) แต่ละลายได้ในalkali, alcohol, glycerol และไม่ละลายในacetone • ความถ่วงจำเพาะ: 2.32 กรัม/ซม.3 • ความหนาแน่นไอ: 4.2 • ดัชนีการหักเหแสง (index of refraction): 1.409, 1.517, 1.524

  4. บทนำ (ต่อ) โปแตสเซียมคลอเรต • เป็นสารออกซิไดซ์ที่แรงมาก (สารซึ่งทำหรือช่วยให้สารอื่นติดไฟได้โดยการให้ออกซิเจน) และเป็นวัตถุที่ทำปฏิกิริยาเคมีได้ไว(reactive) • เป็นวัตถุดิบในการผลิตวัตถุระเบิดไม้ขีดไฟ • การเสียดสีกับสารที่ไวไฟอื่นเช่นซัลเฟอร์คาร์บอน (ผงถ่าน) หรือโลหะอื่นและมีน้ำร่วมด้วยจะก่อให้เกิดการระเบิดได้

  5. การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ • สุขภาพกาย (Physical Health) • สุขภาพใจ (Mental Health) • สุขภาพทางสังคม (Social Health) • สุขภาพทางจิตวิญญาณ (Spiritual Health)

  6. สุขภาพกาย (Physical Health) วิธีการศึกษา • การศึกษาเชิงพรรณนา • กลุ่มเป้าหมาย คนงานในโรงอบลำไยจำนวน 200 คน เกษตรกรผู้ปลูกลำไย จำนวน 200 คน • เครื่องมือ แบบสัมภาษณ์ ตรวจเลือดหาระดับ Methemoglobin, CBC, BUN, Creatinine ตรวจปัสสาวะ

  7. วิธีการศึกษา (ต่อ) • การศึกษาเชิงสังเกตชนิดก่อนและหลัง (Before-and-After Observational Design) • กลุ่มเป้าหมาย เกษตรกรผู้ปลูกลำไย จำนวน 40 คน • เครื่องมือ แบบสัมภาษณ์ ตรวจเลือดหาระดับ Methemoglobin

  8. ผลการศึกษากลุ่มคนงานโรงอบลำไยผลการศึกษากลุ่มคนงานโรงอบลำไย ข้อมูลทั่วไป • หญิง 79.4% • อายุเฉลี่ย 43.0+11.3 ปี • ทำงาน 3 ขั้นตอนคือ แกะเปลือกลำไย, ล้างเนื้อลำไยและเรียงใส่ถาด (63.8%) • ทำงานมานานเฉลี่ย 44.4+34.9 เดือน

  9. ผลการศึกษากลุ่มคนงานโรงอบลำไย (ต่อ) พฤติกรรมสุขภาพและการตรวจร่างกาย • 68.3% ไม่เคยสวมถุงมือขณะทำงาน • 65.8% มีประวัติการแพ้ของผิวหนังหลังทำงานในโรงอบลำไย • 21.0% มีประวัติเข้าได้กับโรคผิวหนังเนื่องจากการประกอบอาชีพ • 26.6% ตรวจร่างกายพบว่ามีรอยโรคจากการสัมผัสลำไย (acute and chronic eczema, tinea manus, tinea unguium)

  10. ผลการศึกษากลุ่มคนงานโรงอบลำไย (ต่อ) การตรวจทางห้องปฏิบัติการ • 31.2% มีภาวะซีด (Hb<12.0 gm%) (p-value<0.0001) • 6.5% มีเม็ดเลือดขาวสูง (WBC>10,000 cells/mm3 (p-value<0.0001) • 35.2% มี metHb สูงกว่าปกติ (>1.5%) (p-value<0.0001) • 22.0% มีเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะ • 20.5% มีเม็ดเลือดขาวในปัสสาวะ • 7.5% พบทั้งเม็ดเลือดแดงและขาวในปัสสาวะ

  11. ผลการศึกษากลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกลำไยผลการศึกษากลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกลำไย ข้อมูลทั่วไป • ชาย 62.3% • อายุเฉลี่ย 48.9+10.0 ปี • เตรียมสารฯโดยชั่งน้ำหนักและใช้มือเปล่าคน (70.4%) • ส่วนมากใช้วิธีฉีดพ่นที่โคนต้น (67.3%)

  12. ผลการศึกษา กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกลำไย (ต่อ) พฤติกรรมสุขภาพและการตรวจร่างกาย • 68.8% ไม่เคยสวมถุงมือขณะฉีดพ่นสารฯ • 70.9% ไม่สวมผ้าปิดปากและจมูก • 40.2% มีประวัติการแพ้ โดย 6.3% ระบุว่าแพ้ KClO3

  13. ผลการศึกษา กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกลำไย (ต่อ) การตรวจทางห้องปฏิบัติการ • 15.1% มีภาวะซีด (Hb<12.0 gm%) (p-value=0.154) • 11.6% มีเม็ดเลือดขาวต่ำ (WBC<5,000 cells/mm3 (p-value<0.0001) • 13.6% creatinine สูง(cr>1.5 mg%) (p-value<0.0001) • 19.1% มี metHb สูงกว่าปกติ (>1.5%) (p-value<0.0001) • 20.5% มีเม็ดเลือดแดงในปัสสาวะ • 12.5% มีเม็ดเลือดขาวในปัสสาวะ • 7.5% พบทั้งเม็ดเลือดแดงและขาวในปัสสาวะ

  14. ผลการศึกษาเชิงสังเกตชนิดก่อนและหลัง กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกลำไย ข้อมูลทั่วไป • ชาย 57.5% • อายุเฉลี่ย 47.0+18.1 ปี • เตรียมสารฯโดยชั่งน้ำหนักและใช้มือเปล่าคน (75.0%) • ส่วนมากใช้วิธีฉีดพ่นที่โคนต้น (77.5%)

  15. ผลการศึกษาเชิงสังเกตชนิดก่อนและหลัง กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกลำไย (ต่อ) พฤติกรรมสุขภาพและการตรวจร่างกาย • 80.0% ไม่สวมถุงมือขณะฉีดพ่นสารฯ • 82.5% ไม่สวมผ้าปิดปากและจมูก

  16. ผลการศึกษาเชิงสังเกตชนิดก่อนและหลัง กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกลำไย (ต่อ) การตรวจทางห้องปฏิบัติการ • 20.0% มี metHb สูงกว่าปกติ (>1.5%) • ค่าเฉลี่ย metHb ก่อนการสัมผัส KClO3คือ 1.16+0.12% • ค่าเฉลี่ย metHb หลังการสัมผัส KClO3คือ 1.36+0.13% • p-value<0.0001

  17. สรุปและอภิปรายผล • การสัมผัส KClO3 ทำให้เกิด Methemoglobinemia • กลุ่มเกษตรกรและคนงานยังไม่ตระหนักถึงความสำคัญของการป้องกันตนเอง • การสัมผัส KClO3 อาจทำให้เกิดความผิดปกติของระบบเลือดและไต • ควรมีการศึกษาเชิงวิเคราะห์ต่อไป

  18. ปัญหาสุขภาพทางกายอื่นๆ (ที่ยังไม่ได้ศึกษา) • ปัญหา Ergonomics ในคนงานแกะลำไย • ปัญหาอุบัติเหตุในคนงานที่นอนไม่เพียงพอ (Sleep Deprivation Disorders)

  19. สุขภาพใจ (Mental Health) • รายได้จากลำไยนอกฤดูลดลงเนื่องจากผู้บริโภคไม่กล้าซื้อ • รายจ่ายเพิ่มขึ้นจากการที่ลำไยมีการ “ดื้อ” ต่อสาร KClO3 • เกษตรกรไม่มั่นใจในความปลอดภัยจากการใช้ KClO3 • เกษตรกรหวั่นเกรงว่าต้นลำไยอาจมีอายุสั้นลง • การติดสารเสพย์ติด (ยาบ้า) ในกลุ่มคนงานแกะลำไย

  20. สุขภาพทางสังคม (Social Health) • คนงานแกะลำไยมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับครอบครัวหรือเพื่อนบ้านน้อยลง จากการที่ต้องมีการแกะลำไยตลอดทั้งปี

  21. สุขภาพทางจิตวิญญาณ (Spiritual Health) • เกษตรกรมีการเว้นการใช้สาร KClO3และยาฆ่าแมลงในลำไยบางต้นที่เอาไว้รับประทานเอง • โรงอบลำไยมีการใช้สารป้องกันเชื้อราในลำไยอบแห้ง • มีการใช้แรงงานเด็กในการแกะลำไย

More Related