1 / 9

อบรมเชิงปฏิบัติการ อส ม.เชี่ยวชาญด้านการคุ้มครองผู้บริโภค และการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน

อบรมเชิงปฏิบัติการ อส ม.เชี่ยวชาญด้านการคุ้มครองผู้บริโภค และการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน. นายแพทย์ พูล สิทธิ์ ศี ติสาร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี วันที่ 19 มีนาคม 2556. GOAL. เข้าถึง ปลอดภัย เสมอภาค เป็นธรรม. 3 Problems. P1 ปัญหาการถูกละเมิดสิทธิ์

lidia
Télécharger la présentation

อบรมเชิงปฏิบัติการ อส ม.เชี่ยวชาญด้านการคุ้มครองผู้บริโภค และการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อบรมเชิงปฏิบัติการ อสม.เชี่ยวชาญด้านการคุ้มครองผู้บริโภคและการดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชน นายแพทย์พูลสิทธิ์ ศีติสาร นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี วันที่ 19 มีนาคม 2556

  2. GOAL • เข้าถึง • ปลอดภัย • เสมอภาค • เป็นธรรม

  3. 3 Problems P1ปัญหาการถูกละเมิดสิทธิ์ P2 ปัญหาผู้บริโภคขาดความเข้าใจใน “หลักการของการคุ้มครองผู้บริโภค” * เข้าใจว่าเป็นหน้าที่ของรัฐ * ละทิ้ง นิ่งเฉย ธุระไม่ใช่ ไม่ร้องเรียน * ไม่นิ่งเฉย....แต่ไม่รู้จะไปร้องเรียนได้ที่ไหน * ร้องแล้ว.....แต่ไม่มีการแก้ไข หรือแก้ไขล่าช้า P3 ปัญหาความรุนแรงระดับพื้นที่ อาหาร * 80 % เป็นเรื่องความปลอดภัยด้านอาหาร โดยเฉพาะ “น้ำมันทอดซ้ำ” สารโพลาร์ * สินค้าหนีภาษีที่ไม่มีคุณภาพ / ไม่ปลอดภัย * สวยซ่อนเสี่ยง

  4. KSF (Key Success Factors)ปัจจัยแห่งความสำเร็จ • KSF 1 สคบ.& อย.กับการถ่ายโอนภารกิจ • KSF 2 สมัชชาสุขภาพ • KSF 3 นโยบายสาธารณะ • KSF 4 กลไกผ่าน 3 settingของ “สามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขา” & MOU

  5. KSF (Key Success Factors)ปัจจัยแห่งความสำเร็จ(ต่อ) • KSF 4 กลไกผ่าน 3 setting ของ “สามเหลี่ยมเขยื้อนภูเขา” & MOU • 4.1 ภาคประชาชนและชุมชน (มี 3 ฐานะ) • ฐานะที่ 1 ผู้ประกอบการ • ฐานะที่ 2 ผู้บริโภค • ฐานะที่ 3 นักเรียน ผู้บริโภครุ่นเยาว์ • 4.2 ภาครัฐ (มี 2 ฐานะ) • ฐานะที่ 1 ท้องที่ (กำนัน / ผู้ใหญ่บ้าน)  เฝ้าระวังหลัก ความมั่นคงปลอดภัย • ฐานะที่ 2 ท้องถิ่น (อบต.,เทศบาล) เจ้าภาพหลัก • 4.3 ภาควิชาชีพ/วิชาการ (มี 3 ฐานะ) • ฐานะที่ 1 สาธารณสุข (หมอ) • ฐานะที่ 2 ศึกษา (ครู) • ฐานะที่ 3 วัด (พระ)

  6. ขั้นตอนกลไกสำคัญ • เน้นกระบวนการทีส่วนร่วมด้วยกลไกสมานฉันท์ • ระดมความคิดเห็นเรื่องปัญหาผู้บริโภคที่พบเจอจริงในพื้นที่ด้วยประสบการณ์ แบ่งได้เป็น 3 ประเภท (Groupping) 2.1 ปัญหาการกินอาหาร (P1) 2.2 ปัญหาการใช้สินค้า (P2) 2.3 ปัญหาจากการใช้บริการ (P3) • แลกเปลี่ยนเรียนรู้จาก “สถานการณ์สำคัญที่ได้จากข้อ 1 และจากที่นักวิชาการรวบรวมสถิติเรื่องร้องเรียนจากทุกหน่วยงานในพื้นที่จังหวัดอุทัยธานี) • นักวิชาการวิเคราะห์ เสนอทางเลือกและการแก้ไขปัญหาในรูปแบบของ A) นโยบายสาธารณะ B) การแปลงนโยบายไปสู่การปฏิบัติที่เหมาะสม มี MOUเป็นเครื่องมือ

  7. จะเกิดกลไกสำคัญที่สุด คือ ? การก่อเกิดนโยบายสาธารณะด้าน คบส. • ใช้กลวิธี “ทำ MOUระดับจังหวัด” • (เน้นเนื้อหา “การมีคณะทำงานด้านการพัฒนาระบบ คบส.ส.ตำบล”

  8. ขอบเขตงาน ใน MOU • การตั้งศูนย์พิทักษ์สิทธิ์ประจำตำบล / เทศบาล / อบต. หน้าที่ ไกล่เกลี่ย / แก้ไขปัญหา • การพัฒนาศักยภาพ “ผู้บริโภค” หน้าที่ - อบรมเชิงปฏิบัติการและฝึกทักษะที่จำเป็น - จัดโครงการ “ตาสับปะรด คบส.ส.” - อบรมคณกรรมการ ฯ - การจัดโครงการเฝ้าระวัง

  9. ขอบเขตงาน ใน MOU • การพัฒนา / สร้าง / ขยาย “เครือข่าย” คบส.ส. หน้าที่ - ยกระดับ อสม.คบส.สภา อสม.คบส. - จัดตั้งชมรม คบส.ส. - จัดทำสมัชชาผู้บริโภค • การพัฒนาระบบข้อมูลข่าวสารด้าน คบส.ตำบล

More Related