1 / 42

โปรแกรมสารสนเทศภูมิศาสตร์ ( GIS)

กรอบแนวคิดแนวทางการกำหนดเขตความเหมาะสมสำหรับพืชเศรษฐกิจ. วิธีการ. ข้อมูล. เครื่องมือ. ข้อมูลกายภาพ แผนที่ดิน (1:50,000) แผนที่สภาพการใช้ที่ดิน (1:25,000) แผนที่เขตเส้นฝน (Isohyte map) แผนที่ขอบเขตป่าตามกฎหมาย (1:50,000) แผนที่เขตปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร แผนที่นิคมสหกรณ์การเกษตร

liko
Télécharger la présentation

โปรแกรมสารสนเทศภูมิศาสตร์ ( GIS)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรอบแนวคิดแนวทางการกำหนดเขตความเหมาะสมสำหรับพืชเศรษฐกิจกรอบแนวคิดแนวทางการกำหนดเขตความเหมาะสมสำหรับพืชเศรษฐกิจ วิธีการ ข้อมูล เครื่องมือ • ข้อมูลกายภาพ • แผนที่ดิน (1:50,000) • แผนที่สภาพการใช้ที่ดิน (1:25,000) • แผนที่เขตเส้นฝน (Isohyte map) • แผนที่ขอบเขตป่าตามกฎหมาย (1:50,000) • แผนที่เขตปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร • แผนที่นิคมสหกรณ์การเกษตร • แผนที่เขตชลประทาน • แผนที่ขอบเขตการปกครอง โปรแกรมสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS) การซ้อนทับข้อมูล OVERLAY GIS ดิน เขตความเหมาะสมสำหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ มาตราส่วน1:50,000 สภาพการใช้ที่ดิน ปริมาณน้ำฝน ขอบเขตป่าไม้ ขอบเขตการปกครอง

  2. การประเมินความเหมาะสมทางกายภาพที่ดินการประเมินความเหมาะสมทางกายภาพที่ดิน ระดับความต้องการของปัจจัยต่อการเจริญเติบโตของพืช (Crop requirement) คุณภาพที่ดิน (Land Quality) 1.ความเข้มของแสงอาทิตย์ 2. อุณหภูมิ 3.ความเป็นประโยชน์ของออกซิเจนต่อรากพืช 4. ความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร 5. ความจุในการดูดยึดธาตุอาหาร 6. การหยั่งลึกของราก 7. ความเสียหายจากการเกิดน้ำท่วม 8. การมีเกลือมากเกินไป 9.สารพิษ 10. ความเสียหายจากการกัดกร่อน 11.สภาวะการเขตกรรม 12. ศักยภาพการใช้เครื่องจักร 13. ความชุ่มชื้นที่เป็นประโยชน์ต่อพืช การจับคู่(Matching) ข้อมูลดิน (Soil Property) ความเหมาะสมทางกายภาพของที่ดินในการปลูกพืชเศรษฐกิจ เนื้อดิน การระบายน้ำ ความอุดมสมบูรณ์ pH, CEC, BS ความลึกของดิน ความเค็มของดิน ความลาดชัน ปริมาณหิน ตัวอย่างระดับความต้องการปริมาณน้ำฝนต่อการเจริญเติบโตของอ้อยโรงงาน

  3. ความเหมาะสมทางกายภาพ ของที่ดินในการปลูกพืชเศรษฐกิจ การซ้อนทับข้อมูล OVERLAY ขอบเขตป่าไม้ตามกฎหมาย สภาพการใช้ที่ดินของพืชปัจจุบัน (Present Land Use) เขตความเหมาะสมสำหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ มาตราส่วน 1:50,000 S1 เหมาะสมสูง S2 เหมาะสมปานกลาง belt S3 เหมาะสมเล็กน้อย N ไม่เหมาะสม

  4. ขั้นตอนการจัดทำบัญชีแนบท้าย เรื่อง เขตเหมาะสมสำหรับพืชเศรษฐกิจ 6 ชนิด ความเหมาะสมทางกายภาพของที่ดินในการปลูกพืชเศรษฐกิจนอกเขตป่าไม้ตามกฎหมาย OVERLAY กับขอบเขตการปกครอง (ก.มหาดไทย) S3 เหมาะสมเล็กน้อย N ไม่เหมาะสม S1 เหมาะสมสูง S2 เหมาะสมปานกลาง เลือกเฉพาะตำบลที่มีสภาพการใช้ที่ดินของพืชปัจจุบัน (Present Land Use) > 40 ไร่

  5. ข้อมูลที่ใช้ในการกำหนดเขตความเหมาะสมสำหรับการปลูกพืชข้อมูลดินและข้อมูลเส้นชั้นน้ำฝนข้อมูลที่ใช้ในการกำหนดเขตความเหมาะสมสำหรับการปลูกพืชข้อมูลดินและข้อมูลเส้นชั้นน้ำฝน ข้อมูลดิน ข้อมูลเส้นชั้นน้ำฝน (Isohyte map)

  6. ตัวอย่าง แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจอ้อยโรงงาน พื้นที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจอ้อยโรงงาน

  7. ข้อมูลที่ใช้ในการกำหนดเขตความเหมาะสมสำหรับการปลูกพืช พื้นที่ป่าไม้ตามกฎหมาย และสภาพการใช้ประโยชน์ที่ดิน (Present Land Use) สภาพการใช้ประโยชน์ที่ดิน (Present Land Use) อ้อยโรงงาน พื้นที่ป่าไม้ตามกฎหมาย

  8. ตัวอย่างแผนที่เขตเหมาะสมสำหรับการปลูกอ้อยโรงงานตัวอย่างแผนที่เขตเหมาะสมสำหรับการปลูกอ้อยโรงงาน พื้นที่เขตเหมาะสมสำหรับการปลูกอ้อยโรงงาน พื้นที่เขตเหมาะสมสำหรับการปลูกอ้อยโรงงาน จังหวัดขอนแก่น

  9. ตัวอย่างแผนที่เขตเหมาะสมสำหรับการปลูกอ้อยโรงงาน พื้นที่เขตเหมาะสมสำหรับการปลูกอ้อยโรงงาน จังหวัดขอนแก่น พื้นที่เขตเหมาะสมสำหรับการปลูกอ้อยโรงงาน อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น

  10. ตัวอย่างแผนที่เขตเหมาะสมสำหรับการปลูกอ้อยโรงงาน พื้นที่เขตเหมาะสมสำหรับการปลูกอ้อยโรงงาน ตำบลน้ำพอง อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น พื้นที่เขตเหมาะสมสำหรับการปลูกอ้อยโรงงาน อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น

  11. ตัวอย่าง ตัวอย่าง

  12. ตัวอย่าง

  13. ตัวอย่าง

  14. การบริหารจัดการการผลิตในเขตเหมาะสมสำหรับพืชเศรษฐกิจการบริหารจัดการการผลิตในเขตเหมาะสมสำหรับพืชเศรษฐกิจ • อุปสงค์ (Demand) • เพื่อการอุปโภค บริโภค • เพื่อการส่งออก • เพื่อการสำรองใช้ภายในประเทศ อุปทาน (Supply) - แหล่งผลิตตามเขตความเหมาะสมสำหรับพืชเศรษฐกิจ - ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ (ผลผลิตเฉลี่ย) - ข้อมูลด้านสังคม (ทัศนคติของเกษตรกร) การบริหารจัดการด้านพื้นที่ตามเขตเหมาะสมสำหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ เพื่อให้มีการบริหารจัดการด้านการผลิตให้เพียงพอกับอุปสงค์-อุปทาน

  15. การบริหารจัดการด้านพื้นที่ตามเขตเหมาะสมสำหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ เพื่อให้มีการบริหารจัดการด้านการผลิตให้เพียงพอกับอุปสงค์-อุปทาน ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการ เพิ่มพื้นที่ปลูก / เพิ่มการจัดการที่ดีในบริเวณที่เหมาะสม (S1+S2) ผลผลิตล้นตลาด หรือราคาตกต่ำ ลดพื้นที่ปลูกบริเวณที่ไม่เหมาะสม (S3 / N) วิเคราะห์ทัศนคติ และความต้องการของเกษตรกร เกษตรกรยอมรับ - เปลี่ยนชนิดพืชที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ - เปลี่ยนรูปแบบการใช้ที่ดิน (ปศุสัตว์ ประมง พืชพลังงาน) - เพิ่มเทคโนโลยี และถ่ายทอดองค์ความรู้ เกษตรกรไม่ยอมรับ - ปรับปรุงบำรุงดิน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิต - ถ่ายทอดองค์ความรู้ในการจัดการที่ดี การทำการเกษตรแบบเศรษฐกิจพอเพียง

  16. การบริหารจัดการด้านพื้นที่ตามเขตการใช้ที่ดินพืชเศรษฐกิจ ผลผลิตล้นตลาด หรือราคาตกต่ำ ลดพื้นที่ปลูกบริเวณที่ไม่เหมาะสม (S3 / N) ผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการ เพิ่มพื้นที่ปลูก / เพิ่มการจัดการที่ดีในบริเวณที่เหมาะสม (S1+ S2)

  17. แนวทางประสานกับจังหวัดเพื่อวางแผนการผลิตแนวทางประสานกับจังหวัดเพื่อวางแผนการผลิต เขตเหมาะสมสำหรับพืชเศรษฐกิจ (Belt) เขตเหมาะสมสำหรับปศุสัตว์และเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ความต้องการของจังหวัด (ความต้องการใช้/ความต้องการของตลาด) การวางแผนการผลิตระดับจังหวัด เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตในเขตเหมาะสม (ในพื้นที่เหมาะสมสูง-ปานกลาง) - เพิ่มผลผลิต - ลดต้นทุน เพิ่มรายได้ ปรับเปลี่ยนระบบการผลิต (ในพื้นที่เหมาะสมน้อย/ไม่เหมาะสม) - ปรับเปลี่ยนชนิดพืช / พืชพลังงาน - เปลี่ยนเป็นพื้นที่เลี้ยงสัตว์ / เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ โครงการของจังหวัด - เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ และเทคโนโลยี - พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน - จัดสรรแหล่งเงินทุน - มีพื้นที่เป้าหมายที่ชัดเจน

  18. ตัวอย่างพื้นที่เป้าหมายการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต จังหวัดขอนแก่น โรงงานน้ำตาล โรงแป้ง/ลานมัน ขอบเขตการปกครอง อำเภอซำสูง 20

  19. ตัวอย่าง เขตความเหมาะสมสำหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ พื้นที่ตำบลห้วยเตย อำเภอซำสูง พื้นที่เป้าหมายการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต (พื้นที่ S1+S2) แปลงถือครอง

  20. ตัวอย่างบัญชีแนบท้าย เรื่อง การกำหนดเขตเหมาะสมสำหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ตัวอย่าง

  21. เขตเหมาะสมสำหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ อำเภอซำสูง จังหวัดขอนแก่น เขตเหมาะสมสำหรับ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

  22. ตัวอย่าง เขตเหมาะสมสำหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ ตำบลห้วยเตย อำเภอซำสูง จังหวัดขอนแก่น

  23. ตัวอย่าง พื้นที่นอกเขตความเหมาะสมสำหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ พื้นที่ตำบลห้วยเตย พื้นที่เป้าหมายการปรับรูปแบบการผลิต (พื้นที่ S3+N) เป็นการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ พื้นที่นอกเขตความเหมาะสม สำหรับการปลูกพืชเศรษฐกิจ พื้นที่ป่าตามกฎหมาย แปลงถือครอง 25 เขตเหมาะสมปานกลาง สำหรับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ

  24. ตัวอย่าง 26

  25. ตัวอย่าง

  26. ตัวอย่าง

  27. ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง เขตเหมาะสมสำหรับการเลี้ยงโคเนื้อ จังหวัดขอนแก่น (จำนวน23อำเภอ 89 ตำบล) ตัวอย่างตำบลในเมือง อำเภอบ้านไผ่ ประกาศเขตเหมาะสมทั้งอำเภอ จำนวน 10 ตำบล

  28. ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง เขตเหมาะสมสำหรับการเลี้ยงโคเนื้อ จังหวัดขอนแก่น (จำนวน23อำเภอ 89 ตำบล) ตัวอย่างตำบลในเมือง อำเภอบ้านไผ่ ประกาศเขตเหมาะสมทั้งอำเภอ จำนวน 10 ตำบล เขตพื้นที่ไม่เหมาะสมสำหรับการปลูกอ้อยโรงงาน ขอบเขตการปกครอง พื้นที่เป้าหมายการปรับรูปแบบการผลิต (พื้นที่ S3+N) เป็นการเลี้ยงโคเนื้อ เขตเหมาะสมสำหรับการเลี้ยงโคเนื้อ เขตป่าไม้ เขตพื้นที่ไม่เหมาะสมสำหรับการปลูกข้าว เขตพื้นที่ไม่เหมาะสมสำหรับการปลูกมันสำปะหลัง

  29. พื้นที่ไม่เหมาะสมสำหรับการปลูกข้าวพื้นที่ไม่เหมาะสมสำหรับการปลูกข้าว พื้นที่ไม่เหมาะสมสำหรับการปลูกข้าว

  30. ข้อจำกัดของพื้นที่ที่ไม่ประกาศเขตเหมาะสมสำหรับการปลูกข้าวข้อจำกัดของพื้นที่ที่ไม่ประกาศเขตเหมาะสมสำหรับการปลูกข้าว

  31. เนื้อที่/ผลผลิตข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสมเนื้อที่/ผลผลิตข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสม หมายเหตุ : ผลผลิตเฉลี่ย 300 กิโลกรัมต่อไร่

  32. พื้นที่ไม่เหมาะสมสำหรับการปลูกข้าว รายจังหวัด

  33. พื้นที่ไม่เหมาะสมสำหรับการปลูกข้าว รายจังหวัด (ต่อ)

  34. ตัวอย่างพื้นที่เป้าหมายการปรับรูปแบบการผลิตตัวอย่างพื้นที่เป้าหมายการปรับรูปแบบการผลิต ขอบเขตการปกครอง จังหวัดสุพรรณบุรี ขอบเขตการปกครอง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี

  35. พื้นที่ไม่เหมาะสมสำหรับการปลูกข้าวพื้นที่ไม่เหมาะสมสำหรับการปลูกข้าว ตัวอย่าง ตำบลดอนคาและตำบลหนองโอ่ง อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี พื้นที่เป้าหมายการปรับรูปแบบการผลิต (พื้นที่ N) เป็นการปลูกอ้อยโรงงาน

  36. แนวทางการปรับรูปแบบการผลิตแนวทางการปรับรูปแบบการผลิต กรณีการใช้ที่ดินเพื่อการปลูกข้าวในพื้นที่ไม่เหมาะสม

  37. มาตรการสำหรับเกษตรกรที่ปลูกพืชในพื้นที่เหมาะสมมาตรการสำหรับเกษตรกรที่ปลูกพืชในพื้นที่เหมาะสม - ด้านการให้องค์ความรู้ เช่น ข้อมูลด้านการผลิตทางการเกษตรและเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต เป็นต้น • ด้านการเงินการคลัง เช่น การจัดหาแหล่งเงินทุนและสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำ การทำประกันภัยพืชผลเกษตร เป็นต้น - ด้านโครงสร้างพื้นฐาน เช่น การจัดหาแหล่งน้ำ ระบบชลประทาน การจัดรูปที่ดิน ระบบโลจิสติกส์ เป็นต้น - ด้านการตลาด เช่น ระบบตลาดกลางสินค้าเกษตร ตลาดซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ข้อมูลการตลาด การเชื่อมโยงการผลิตกับการตลาด การรักษาเสถียรภาพราคาสินค้าเกษตร เป็นต้น • ด้านราคาผลผลิต ราคาผลผลิตที่เกษตรกรขายได้ ในพื้นที่เหมาะสมควรมีราคาสูงกว่าพื้นที่นอกเขต

  38. มาตรการสำหรับเกษตรกรที่ปลูกในพื้นที่ไม่เหมาะสมมาตรการสำหรับเกษตรกรที่ปลูกในพื้นที่ไม่เหมาะสม • ด้านการให้องค์ความรู้ เช่น ข้อมูลทางเลือกในการทำการผลิตสินค้าเกษตร ที่เหมาะสมกับพื้นที่ ความรู้สินค้าเกษตรที่ปรับเปลี่ยน การรวมกลุ่ม เป็นต้น - การอบรมกลุ่มเกษตรกรเชิงวิชาการให้เรียนรู้รายละเอียดการผลิตพืชใหม่ • ติดตามเพื่อให้คำแนะนำอย่างต่อเนื่องต่อกลุ่มเกษตรกร โดยเจ้าหน้าที่ ด้านการเกษตร และการตลาด - ด้านการเงินการคลัง เช่น การจัดหาแหล่งเงินทุนและสินเชื่อดอกเบี้ยต่ำในการปรับเปลี่ยนการผลิต เป็นต้น • ด้านโครงสร้างพื้นฐาน เช่น การจัดหาแหล่งน้ำ การจัดรูปที่ดิน ระบบโลจิสติกส์ เป็นต้น - ด้านการตลาด เช่น ระบบตลาดกลางสินค้าเกษตร ตลาดซื้อขายสินค้าเกษตรล่วงหน้า ข้อมูลการตลาด การเชื่อมโยงการผลิตกับการตลาด เป็นต้น

  39. ความก้าวหน้าการดำเนินงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ความก้าวหน้าการดำเนินงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

  40. ความก้าวหน้าการดำเนินงานของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ต่อ)

More Related