1 / 31

ช่องว่างนโยบายพลังงาน : ยิ่งปรับยิ่งแย่ ยิ่งแก้ยิ่งยุ่ง

ช่องว่างนโยบายพลังงาน : ยิ่งปรับยิ่งแย่ ยิ่งแก้ยิ่งยุ่ง. 1 2 กันยายน 2554 พรายพล คุ้มทรัพย์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. เค้าโครงการบรรยาย. สถานการณ์ราคาน้ำมันโลก ปัญหาเกี่ยวกับนโยบายราคาน้ำมันของไทย ดีเซล ก๊าซหุงต้ม ก๊าซโซฮอล โครงสร้างราคาน้ำมันที่เหมาะสม.

lilian
Télécharger la présentation

ช่องว่างนโยบายพลังงาน : ยิ่งปรับยิ่งแย่ ยิ่งแก้ยิ่งยุ่ง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ช่องว่างนโยบายพลังงาน :ยิ่งปรับยิ่งแย่ ยิ่งแก้ยิ่งยุ่ง 12กันยายน 2554 พรายพล คุ้มทรัพย์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

  2. เค้าโครงการบรรยาย • สถานการณ์ราคาน้ำมันโลก • ปัญหาเกี่ยวกับนโยบายราคาน้ำมันของไทย • ดีเซล • ก๊าซหุงต้ม • ก๊าซโซฮอล • โครงสร้างราคาน้ำมันที่เหมาะสม

  3. สถานการณ์ราคาน้ำมันโลกสถานการณ์ราคาน้ำมันโลก • ราคาน้ำมันในตลาดโลกผันผวนมากและมีแนวโน้มสูงขึ้น สูงสุดที่ประมาณ $140 ต่อบาเรลในปี พ.ศ. 2551 • ราคาปีนี้เฉลี่ยประมาณ $100 ต่อบาเรล และน่าจะสูงต่อไป

  4. สถานการณ์ราคาน้ำมันโลกสถานการณ์ราคาน้ำมันโลก • ประเทศไทยต้องพึ่งพลังงานนำเข้า ทั้งน้ำมัน ก๊าซ และถ่านหิน และคงต้องพึ่งพลังงานนำเข้าต่อไปอีกนาน (ราคาน้ำมันและก๊าซปรับเปลี่ยนในทิศทางเดียวกัน) • ใน 10 ปีที่ผ่านมา มูลค่าน้ำมันและเชื้อเพลิงนำเข้าเพิ่มจาก 300,000 ล้านบาท (12% ของมูลค่านำเข้ารวม) มาเป็น 1 ล้านล้านบาทในปี 2553 (17%) สูงสุด 1.2 ล้านล้านบาทในปี 2551 (20%)

  5. ปัญหาเกี่ยวกับนโยบายราคาน้ำมันของไทยปัญหาเกี่ยวกับนโยบายราคาน้ำมันของไทย • พิจารณาเฉพาะราคาน้ำมัน (แต่พลังงานอื่นก็สำคัญและมีปัญหา) • ราคาน้ำมันในตลาดโลกที่ผันผวนและมีแนวโน้มสูงขึ้น แต่ผู้ใช้น้ำมันต้องการความแน่นอนและไม่แพง • ในช่วงที่ราคาโลกสูง รัฐบาลไทยมักตรึงราคาขายปลีกผลิตภัณฑ์น้ำมันไว้ต่ำ โดยใช้เงินกองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง (+ วิธีการอื่นๆ)

  6. ปัญหาเกี่ยวกับนโยบายราคาน้ำมันของไทยปัญหาเกี่ยวกับนโยบายราคาน้ำมันของไทย • ผลของการตรึงราคาขายปลีกไว้ต่ำ • ในอดีตกองทุนน้ำมันฯ ติดลบ เป็นหนี้สูง ปัจจุบันเริ่มจะติดลบเพราะยกเลิกเก็บเข้า • บางครั้งต้องลดภาษีด้วย ทำให้รายได้ภาษีลด อัตราภาษีสรรพสามิตดีเซลลดเหลือลิตรละครึ่งสตางค์

  7. ปัญหาเกี่ยวกับนโยบายราคาน้ำมันของไทยปัญหาเกี่ยวกับนโยบายราคาน้ำมันของไทย • ผลของการตรึงราคาขายปลีกไว้ต่ำ • ค่าตลาดถูกบีบ (ในอดีตเกิดจากการควบคุมราคา ในปัจจุบันเกิดจากการตั้งราคาของ ปตท. ในฐานะ price leader) ไม่ส่งเสริมการแข่งขัน

  8. ปัญหาเกี่ยวกับนโยบายราคาน้ำมันของไทยปัญหาเกี่ยวกับนโยบายราคาน้ำมันของไทย • ผลของการตรึงราคาขายปลีกไว้ต่ำ • ในกรณีก๊าซหุงต้ม ราคา ณ โรงกลั่น/โรงแยกก๊าซถูกกด ต้องใช้กองทุนน้ำมันฯ ชดเชยการนำเข้า และชดเชยโรงกลั่น เงินไหลออกจากกองทุนฯ ส่วนใหญ่ใช้ชดเชยก๊าซหุงต้ม (ปี 54 ใช้ 42,000 ล้านบาท) • ในกรณี NGV ปตท. ต้องขายในราคาขาดทุน

  9. ปัญหาเกี่ยวกับนโยบายราคาน้ำมันของไทยปัญหาเกี่ยวกับนโยบายราคาน้ำมันของไทย • การตรึงราคาขายปลีกไว้ต่ำก่อให้เกิดผลกระทบต่อเนื่อง • บรรเทาปัญหาเงินเฟ้อ และลดแรงกดดันทางการเมือง • ไม่ส่งเสริมการประหยัดและการใช้พลังงานทดแทน • ไม่ช่วยลดการพึ่งพาพลังงานนำเข้า • สูญเสียเงินตราต่างประเทศ

  10. ปัญหาเกี่ยวกับนโยบายราคาน้ำมันของไทยปัญหาเกี่ยวกับนโยบายราคาน้ำมันของไทย • การตรึงราคาขายปลีกไว้ต่ำก่อให้เกิดผลกระทบต่อเนื่อง • ไม่ช่วยแก้ปัญหาภาวะโลกร้อน และผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม • ไม่ส่งเสริมเชื้อเพลิงที่ผลิตได้ในประเทศ • ลักลอบส่งออกไปประเทศเพื่อนบ้าน • ฐานะการคลังอ่อนแอ (การขาดดุลงบประมาณและหนี้สาธารณะ)

  11. ปัญหาเกี่ยวกับนโยบายราคาน้ำมันของไทยปัญหาเกี่ยวกับนโยบายราคาน้ำมันของไทย • ผลิตภัณฑ์น้ำมันมีราคาขายปลีกแตกต่างกันมากเกินไป เช่น ดีเซล VS เบนซิน LPG/NGV VS เบนซิน/ดีเซล LPG ครัวเรือน VS LPG รถยนต์/โรงงาน ส่วนใหญ่เป็นผลจาก cross subsidy ผ่านกองทุนน้ำมันฯ

  12. ปัญหาเกี่ยวกับนโยบายราคาน้ำมันของไทยปัญหาเกี่ยวกับนโยบายราคาน้ำมันของไทย • ราคาขายปลีกแตกต่างกันมากทำให้เกิด • การทดแทนกันที่ไร้ประสิทธิภาพ ลงทุนปรับเปลี่ยนเครื่องยนต์อาจไม่คุ้มค่าทางเศรษฐกิจ โครงสร้างการใช้และการกลั่นน้ำมันไม่สมดุลกัน

  13. ปัญหาเกี่ยวกับนโยบายราคาน้ำมันของไทยปัญหาเกี่ยวกับนโยบายราคาน้ำมันของไทย • ราคาขายปลีกแตกต่างกันมากทำให้เกิด • การโยกย้ายถ่ายเทที่อันตราย (กรณีก๊าซหุงต้ม) • ทำไมต้องอุดหนุนคน “ไม่จน” สำหรับก๊าซหุงต้ม และดีเซล (ทำไมคนใช้เบนซินต้องอุดหนุนคนใช้ก๊าซหุงต้ม และดีเซล)

  14. ปัญหาเกี่ยวกับนโยบายราคาน้ำมันของไทยปัญหาเกี่ยวกับนโยบายราคาน้ำมันของไทย • ราคาขายปลีกแตกต่างกันน้อยเกินไป • ผลจากการยกเลิกเก็บเข้ากองทุนฯ 29 ส.ค. 54 • เบนซิน 91 กับ ก๊าซโซฮอล 91 ทดแทนกันได้มาก • ยอดขายก๊าซโซฮอลตกฮวบ ต้องปรับราคาใหม่อีก 2 ครั้ง • ตัวอย่างของ “ประชานิยม” ที่ “ยิ่งแก้ยิ่งยุ่ง”

  15. โครงสร้างราคาน้ำมันที่เหมาะสม การกำหนดราคาผลิตภัณฑ์น้ำมันควรมีเกณฑ์ทั่วไป ดังนี้ • ราคาขายปลีกต้องไม่ต่ำกว่าราคาตลาดโลก (ราคานำเข้า + ค่าการตลาด) ให้สะท้อนต้นทุนที่แท้จริง เพื่อประสิทธิภาพและประหยัดพลังงาน • กรณีของไทยผ่านเกณฑ์นี้เป็นส่วนใหญ่ ยกเว้น ก๊าซหุงต้ม NGV และดีเซล

  16. โครงสร้างราคาน้ำมันที่เหมาะสม การกำหนดราคาผลิตภัณฑ์น้ำมันควรมีเกณฑ์ทั่วไป ดังนี้ • เก็บภาษีน้ำมันเพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆ • สำหรับภาครัฐลงทุนสร้างถนน (road user charge) • ชดเชยผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและการก่อให้เกิดก๊าซเรือนกระจก (carbon tax) • ชดเชยผลกระทบจากจราจรติดขัดและอุบัติเหตุ (congestion and accidents)

  17. โครงสร้างราคาน้ำมันที่เหมาะสม การกำหนดราคาผลิตภัณฑ์น้ำมันควรมีเกณฑ์ทั่วไป ดังนี้ • เก็บภาษีน้ำมันเพื่อวัตถุประสงค์ต่างๆ • ส่งเสริมการกระจายชนิดของเชื้อเพลิง (energy diversification) • ส่งเสริมการกระจายรายได้ (income distribution)

  18. ภาษีผลิตภัณฑ์น้ำมัน ในทางปฏิบัติ ประเทศเก็บภาษีน้ำมันต่างกันไป: • ยุโรปเก็บ 200% ของ (ราคา ณ โรงกลั่น + ค่าการตลาด) ซึ่งสูงมาก • สหรัฐฯ เก็บ 10% (ค่อนข้างต่ำ) • ซาอุฯ อิหร่าน เวเนซูเอลา อุดหนุนราคาน้ำมัน 20

  19. Gasoline Prices, Jan. 2006 (US$/litre)

  20. โครงสร้างราคาน้ำมันที่เหมาะสม • เสนอให้เก็บภาษีน้ำมันทุกชนิดรวมกันคิดเป็น 15% - 20% ของราคาขายปลีก • อัตราขั้นสูงสำหรับเบนซิน • อัตราขั้นต่ำสำหรับอื่นๆ • ยกเว้นภาษีสรรพสามิตให้เอธานอลและไบโอดีเซล

  21. โครงสร้างราคาน้ำมันที่เหมาะสม เกณฑ์เฉพาะวัตถุประสงค์: • ลดความผันผวนจากตลาดโลก • ใช้กองทุนน้ำมันเชื้อเพลิง เก็บเข้าเมื่อราคาโลกต่ำ และชดเชยเมื่อราคาโลกสูง • ปัญหาในทางปฏิบัติ : ชดเชยมากแต่เก็บเข้าน้อย ชดเชยไว้ก่อน โดยหวังว่าราคาโลกจะลดลงในอนาคต (คาดการณ์ยาก)

  22. โครงสร้างราคาน้ำมันที่เหมาะสม เกณฑ์เฉพาะวัตถุประสงค์: • ลดความผันผวนจากตลาดโลก • ควรมีเป้าหมายไม่ให้กองทุนน้ำมันฯ เป็นลบ/บวกมากเกินเกณฑ์ที่สมเหตุสมผล อย่าฝืนแนวโน้มตลาดโลก

  23. โครงสร้างราคาน้ำมันที่เหมาะสม เกณฑ์เฉพาะวัตถุประสงค์: • พลังงานเพื่อคนจน/ความจำเป็นในการครองชีพ (พลังงานเพื่อลดอัตราค่าครองชีพ/เงินเฟ้อ?) • ปัญหา : ชดเชยมากและนานเกินไป เป็นภาระกับภาครัฐ ผู้ผลิต/ค้า และผู้ใช้อื่น เช่น กรณีก๊าซหุงต้ม และดีเซล

  24. โครงสร้างราคาน้ำมันที่เหมาะสม เกณฑ์เฉพาะวัตถุประสงค์: • พลังงานเพื่อคนจน/ความจำเป็นในการครองชีพ (พลังงานเพื่อลดอัตราค่าครองชีพ/เงินเฟ้อ?) • ควรช่วยเฉพาะกลุ่มเป้าหมาย เช่น ดีเซลเพื่อประมงขนาดเล็ก คูปองก๊าซหุงต้มสำหรับผู้มีรายได้น้อย • ควรกำหนดขนาดและเวลาของการช่วยเหลือ

  25. โครงสร้างราคาน้ำมันที่เหมาะสม เกณฑ์เฉพาะวัตถุประสงค์: • ส่งเสริมการใช้วัตถุดิบที่ผลิตได้ในประเทศ • น้ำมันชีวภาพจากพืชในประเทศ (เอธานอล และไบโอดีเซล) ส่งเสริมให้ใช้โดยชดเชยจากกองทุนน้ำมันฯ ก๊าซโซฮอลควรถูกกว่าเบนซินลิตรละ 3 บาทขึ้นไป • ราคาที่ผู้ผลิตเอธานอล และไบโอดีเซล ต้องทั้งส่งเสริมให้ผลิต และมีต้นทุนที่แข่งขันได้ในตลาดโลกด้วย

  26. โครงสร้างราคาน้ำมันที่เหมาะสม เกณฑ์เฉพาะวัตถุประสงค์: • ความสมดุลระหว่างโครงสร้างการใช้และการกลั่น • เบนซิน ดีเซล LPG และ NGV ควรมีราคาขายปลีกที่ไม่แตกต่างกันมาก (ไม่เกินลิตรละ 2 บาท เมื่อปรับค่าความร้อนแล้ว)

More Related