1 / 20

Indian contemporary art

Indian contemporary art. ราวพุทธศตวรรษ 24 จิตรกรรมอินเดียเริ่มเสื่อมลง ศิลปินไม่มีแรงบันดาลใจ กระแสของศิลปะตะวันตก พุทธศตวรรษ 25 มีการรื้อฟื้นความเป็นตัวตนของแบบอย่างอินเดีย เกิดการผสมผสานกับศิลปะจากยุโรป (ความบันดาลใจแบบประเพณีอินเดียกับกระบวนการทางเทคนิคของยุโรป))

lilli
Télécharger la présentation

Indian contemporary art

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Indian contemporary art • ราวพุทธศตวรรษ 24 จิตรกรรมอินเดียเริ่มเสื่อมลง • ศิลปินไม่มีแรงบันดาลใจ • กระแสของศิลปะตะวันตก • พุทธศตวรรษ 25 มีการรื้อฟื้นความเป็นตัวตนของแบบอย่างอินเดีย • เกิดการผสมผสานกับศิลปะจากยุโรป (ความบันดาลใจแบบประเพณีอินเดียกับกระบวนการทางเทคนิคของยุโรป)) • เกิดสมาคมศิลปะตะวันออกแห่งอินเดีย Indian society of oriental art

  2. ในขณะที่ศิลปะยุโรปกำลังเป็นที่นิยม ศิลปะอินเดียจึงมีหน้าที่เป็นแค่สิ่งประดับตามอาคารต่างๆ

  3. ภาพเขียนสะท้อนให้เห็นถึงชีวิตของผู้หญิงในแง่มุมที่ต้องจำยอมกับความเป็นจริงในขนบธรรมเนียมที่เคร่งครัดทางสังคมภาพเขียนสะท้อนให้เห็นถึงชีวิตของผู้หญิงในแง่มุมที่ต้องจำยอมกับความเป็นจริงในขนบธรรมเนียมที่เคร่งครัดทางสังคม

  4. กระแสของการเย้ยหยัน เสียดสี ระหว่างความไม่เท่าเทียมกันของความต่างทางเพศ เป็นที่นิยมในปัจจุบัน

  5. การใช้รูปร่างของคน (ไม่เว้นแม้แต่ มหาตมะ คานที) จะปรากฏในงานเกือบทุกประเภท

  6. การใช้สัญลักษณ์ โดยมีนัยยะแฝง ซึ่งมักเกี่ยวข้องกับชนชั้นล่างๆ

  7. ในบางขณะความสนใจในเรื่องรูปทรงเรขาคณิตในบางขณะความสนใจในเรื่องรูปทรงเรขาคณิต

  8. ถ้าจะมองในแง่มุมที่ความสมบูรณ์แบบเชิงสุนทรียะ คงไม่สามารถประเมินคุณค่าทางความงามได้ที่ความเป็นรูปแบบ เทคนิค หรือทักษะในการแสดงออก ในงานทุกชิ้นอย่างเสมอไป สำหรับงานในบางลักษณะควรพิจารณาที่จุดมุ่งหมายทางความนึกคิด ที่มา และเหตุผลในการแสดงออกมากกว่า

  9. Anish Kapoor สร้างงานด้วยการใช้รูปทรงมาจากสตรีเพศ แทนค่าความอดทน เข้มแข็ง แต่เปราะบาง อารมณ์และความรู้สึกอันเกิดจากเส้นและรูปทรงที่แสดงตัวอย่างฉับพลัน

  10. Erotic art งานสื่อผสมที่มีลักษณะการใช้สัญลักษณ์ที่ดูเป็นนามธรรมมากกว่าจะแสดงตัวว่าคืออะไร

  11. Expressionism ในจังหวะของร่องรอยทีแปรงรุนแรง อิสระ มีทิศทางตรงข้ามกัน ย่อมชี้ให้เห็นถึงอาการที่ดูขัดแย้ง ไม่กลมกลืนหรือคล้อยตามกันไป แต่ทำให้เกิดเป็น Unity เฉพาะตัว

More Related