1 / 12

การเตรียมการและมาตรการรองรับ ผลกระทบจากการเปิดการค้าเสรีอาเซียน (AFTA)

การเตรียมการและมาตรการรองรับ ผลกระทบจากการเปิดการค้าเสรีอาเซียน (AFTA). ดร. ลัดดาวัลย์ กรรณนุช ผู้อำนวยการ สำนักพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. เปิดเสรีข้าว AFTA ตัวแทนชาวนาห่วงมีการลักลอบ. นำเข้าข้าวสวมสิทธิ์โครงการรับจำนำ หวั่นภาคอุตฯแห่ใช้ข้าวราคาถูกแทน.

Télécharger la présentation

การเตรียมการและมาตรการรองรับ ผลกระทบจากการเปิดการค้าเสรีอาเซียน (AFTA)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเตรียมการและมาตรการรองรับผลกระทบจากการเปิดการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ดร. ลัดดาวัลย์ กรรณนุช ผู้อำนวยการ สำนักพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

  2. เปิดเสรีข้าว AFTA ตัวแทนชาวนาห่วงมีการลักลอบ นำเข้าข้าวสวมสิทธิ์โครงการรับจำนำ หวั่นภาคอุตฯแห่ใช้ข้าวราคาถูกแทน

  3. ผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้นผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้น In General -ผลกระทบด้านราคาข้าวเปลือกในประเทศ ? -ผลกระทบต่อภาพลักษณ์และชื่อเสียงด้านคุณภาพข้าวของประเทศ -ผลกระทบด้านการระบาดของศัตรูพืช ; โรค แมลง วัชพืช สิ่งเจือปน -ผลกระทบด้านความปลอดภัยในสินค้าข้าว; สุขอนามัย GMOs -ผลกระทบด้านสังคม เศรษฐกิจ และจิตวิทยาชาวนา

  4. ผลกระทบ • In Specific • ด้านการนำเข้า โรค แมลง วัชพืช และสิ่งเจือปน อื่นๆ • ด้านสุขอนามัย อาจมีเชื้อโรคที่เกี่ยวกับอาหารปะปนเข้ามา • 3. ด้านความเชื่อมั่น เรื่องสินค้า GMOs

  5. *การผลิต และการค้าข้าว/ผลิตภัณฑ์จากข้าว ครบวงจร* โรงสี/หยง/ส่งออก ผู้ประกอบการ แปรรูป ช า ว น า ภารกิจภาครัฐ ผู้บริโภค ภารกิจ ของ กรมการข้าว ขึ้นทะเบียน ชาวนา ข้าว เปลือก ข้าวกล้อง/ ข้าวสาร ผลิต ภัณฑ์ แปรรูป ข้าว ผู้บริโภค มีความ พึงพอใจ -สร้างกลุ่ม เกษตรกรที่เข้มแข็ง -มีเครือข่าย เชื่อมโยง ในส่วนกลาง/ภูมิภาค -มีกลุ่มสมาชิก สหกรณ์ -ศูนย์ข้าวชุมชน -วิจัย/พัฒนา (R&D) -ถ่ายทอดเทคโนโลยี -สร้างมูลค่าเพิ่ม (Value Creation) *สร้างเอกลักษณ์ ข้าวไทย *Branding *บรรจุภัณฑ์ -Value Added -วิจัยพัฒนาแปรรูปผลิตภัณฑ์ จากข้าวเพื่อสุขภาพ (Value Added) -พัฒนาผลงานวิจัยผลิตภัณฑ์ จากข้าวในเชิงพาณิชย์ ตรวจสอบ/รับรอง -ระบบการผลิต (Q-Seed, Q-GAP) -คุณภาพข้าว (Q-product) ภาคเอกชน กลุ่มแม่บ้าน SMEs บริษัทฯ ศาลาข้าวไทย -ส่งเสริมการค้า นำเสนอผลิตภัณฑ์ เชิงพาณิชย์ -ประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างตลาดนวัตกรรมใหม่ ศูนย์การเรียนรู้การผลิตข้าวอินทรีย์และผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรีย์ ครบวงจร ภาคการผลิตภาคการค้า

  6. มาตรการ ที่กรมการข้าว ได้เตรียมการ 1.มาตรการป้องกันการเกิดผลกระทบต่อเกษตรกร ผู้ผลิตภายในประเทศ 1.1 การกำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร และการตรวจรับรอง SPS(Sanitary and Phytosanitary) ที่เข้มงวด ได้แก่ การตรวจรับรองปลอด โรค แมลง วัชพืช 1.2 การกำหนดสินค้าข้าวที่นำเข้า ต้องเป็นสินค้าที่ปลอด GMOs

  7. 2. มาตรการสร้างความเข้มแข็งให้กับชาวนาไทย • และระบบการผลิตข้าว ภายในประเทศ • 2.1 การประชาสัมพันธ์ และ รณรงค์ เพื่อกระตุ้นให้เกิดความรู้ • ความเข้าใจ ในสถานการณ์ที่เกิดขึ้น • มีกลุ่มเป้าหมาย stakeholder ทุกกลุ่ม • 2.2 เร่งรัดการวิจัย ในเชิงรุก และมีการพัฒนาเทคโนโลยีการ • ผลิตข้าวและผลิตภัณฑ์จากข้าว • -ลดต้นทุนการผลิต • -สร้าง elite varieties

  8. 2.3 เร่งรัดการจัดระบบการผลิตและการกระจายเมล็ดพันธุ์ข้าว • คุณภาพดี ให้บรรลุเป้าหมาย • -ศูนย์ข้าวชุมชน ไข่ขาว ไข่แดง • 2.4 สร้างมาตรการ การจัดหาและสนับสนุน ให้มี และ ใช้ ปัจจัย • การผลิตที่ดี ถูกวิธี และ ราคาถูก ให้กับเกษตรกร • 2.5 เร่งรัดการจัดการ โครงสร้างพื้นฐาน และระบบชลประทาน • เพื่อสนับสนุนการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตข้าว • 2.6 พัฒนาและเพิ่มศักยภาพในการตรวจสอบและรับรอง ระบบ • การผลิตข้าว GAP • -เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน • -เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้บริโภค

  9. 2.7 โครงการประกันรายได้เกษตรกรที่ขึ้นทะเบียน • 2.8 สนับสนุน ให้เกิดกองทุนสวัสดิการชาวนา • 2.9 พัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี กระบวนการผลิตที่ดีและ • เหมาะสม • -เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของเกษตรกรไทย • -ลดความสูญเสียจากการจัดการที่ผิดพลาด • 2.10 สนับสนุนให้เกษตรกรมีทางเลือก มีการตัดสินใจ ในการ • ผลิตและการขายข้าว (ข้าวเปลือก หรือ ผลิตภัณฑ์)

  10. 2.11 เร่งรัดการพัฒนาการสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าข้าว และ • ผลิตภัณฑ์ (Value creation / Value Added) • 2.12 สนับสนุน ให้เกิดการผลิตตามศักยภาพของพื้นที่ (Zoning) • 2.13 สร้างและกระตุ้นกระแสรักษ์ข้าวไทย ยกระดับอาชีพการ • ผลิตข้าว ให้มีเกียรติ น่าภาคภูมิใจ • 2.14 มีการกำหนดมาตรการ ป้องกัน ปราบปราม อย่าง • เข้มงวด และมีการลงโทษ • 2.15 พัฒนาหมู่บ้านชายแดน ให้เป็น หมู่บ้าน AFTA • -ดูแล สอดส่อง กองทัพมด ไม่ให้มีการทะลัก การนำเข้าข้าว • ที่ผิดกฏหมาย (ไม่มีใบรับรอง)

  11. ประเด็นที่กังวล- กระบวนการไม่เป็นไปตามขั้นตอน ไม่มีส่วนร่วม ดำเนินการเองโดยข้าราชการ- ไม่มีการผ่านสภาตามมาตรา 190 - เนื้อหา หากเปิดเสรี หมายถึง ความเป็นไปได้ที่จะให้ต่างชาติถือหุ้น ได้ตั้งแต่ 51-100% ในสาขาที่มีความอ่อนไหวต่อความมั่นคง- ไม่เฉพาะนักลงทุนอาเซียน แต่ชาติอื่นที่มีฐานการผลิตในอาเซียน

  12. ขอบคุณ ขอบคุณ สวัสดี สวัสดี

More Related