1 / 73

การพัฒนาระบบหมอครอบครัว และงานส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก จังหวัดชัยภูมิ

การพัฒนาระบบหมอครอบครัว และงานส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก จังหวัดชัยภูมิ. นำเสนอโดย นายชัยวัฒน์ ทองไหม นายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรมป้องกัน) สสจ. ชัยภูมิ. แผนที่จังหวัดชัยภูมิ. 16 อำเภอ. ข้อมูลด้านประชากร. โครงสร้างประชากร จำแนกตามเพศและกลุ่มอายุ จังหวัดชัยภูมิ ปี 2555. 1,129,800 คน.

lin
Télécharger la présentation

การพัฒนาระบบหมอครอบครัว และงานส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก จังหวัดชัยภูมิ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาระบบหมอครอบครัวการพัฒนาระบบหมอครอบครัว และงานส่งเสริมสุขภาพเชิงรุก จังหวัดชัยภูมิ นำเสนอโดย นายชัยวัฒน์ ทองไหม นายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรมป้องกัน) สสจ.ชัยภูมิ

  2. แผนที่จังหวัดชัยภูมิ

  3. 16 อำเภอ

  4. ข้อมูลด้านประชากร โครงสร้างประชากร จำแนกตามเพศและกลุ่มอายุ จังหวัดชัยภูมิ ปี 2555 1,129,800 คน หญิง ชาย

  5. ข้อมูลด้านสุขภาพ • อัตราเกิด ตาย และเพิ่มต่อประชากรพันคน จังหวัดชัยภูมิ ปี 2550 – 2554

  6. ข้อมูลด้านสาธารณสุข สถานบริการสาธารณสุขภาครัฐ • โรงพยาบาลศูนย์ ขนาด550 เตียง1แห่ง • โรงพยาบาลชุมชนขนาด90 เตียง1แห่ง ขนาด60 เตียง5แห่ง ขนาด30 เตียง8แห่ง เตียงรวม 1,180เตียง สัดส่วนเตียง : ประชากร 1 : 954 • รพ.สต. / ศสม. 168/3 แห่ง • รพ.เอกชน 2 แห่ง

  7. โครงสร้างตามภารกิจแยกตามระดับบริการ โครงสร้างตามภารกิจแยกตามระดับบริการ -ระดับ S (1แห่ง) :ร.พ.ชัยภูมิ- ระดับ M2 (4แห่ง): ร.พ.ภูเขียว, ร.พ.แก้งคร้อ, ร.พ.หนองบัวแดง,ร.พ.จัตุรัส- ระดับ F1(1แห่ง) : ร.พ.บำเหน็จณรงค์ - ระดับ F2 (9แห่ง) : ร.พ.คอนสาร, ร.พ.เกษตรสมบูรณ์, ร.พ.บ้านแท่น,ร.พ.คอนสวรรค์, ร.พ.บ้านเขว้า, ร.พ.เนินสง่าร.พ.เทพสถิต,ร.พ.ภักดีชุมพล,ร.พ.หนองบัวระเหว - ระดับ F3 (1แห่ง):ร.พ.ซับใหญ่

  8. ข้อมูลด้านสาธารณสุข บุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข • แพทย์ 129 คน อัตราส่วน/ประชากร 1 : 8,722 • ทันตแพทย์ 75 คน อัตราส่วน/ประชากร 1 : 15,001 • เภสัชกร 99 คน อัตราส่วน/ประชากร 1 : 11,365 • พยาบาลวิชาชีพ 1,381 คน อัตราส่วน/ประชากร 1 : 815 (รวมพยาบาลวิชาชีพของรพ.สต.) • เจ้าหน้าที่ประจำ รพ.สต. 557 คน อัตราส่วน/ประชากร 1 : 2,020 (ไม่รวมพยาบาลวิชาชีพ)

  9. ข้อมูลสาธารณสุขระดับพื้นที่ข้อมูลสาธารณสุขระดับพื้นที่ • แพทย์ 89 คน อัตราส่วน/ประชากร 1 : 9234 • พยาบาลวิชาชีพ 252 คน อัตราส่วน/ประชากร 1 : 3261 • นสค. (สหวิชาชีพ) 692 คน อัตราส่วน/ประชากร 1: 1188 (ไม่รวมรพ.ชัยภูมิ)

  10. การเสริมกำลังคนและการสนับสนุนสิ่งที่จำเป็นการเสริมกำลังคนและการสนับสนุนสิ่งที่จำเป็น ใน รพ.สต. และศสม.

  11. การส่งเสริมกำลังคนและการสนับสนุนสิ่งจำเป็นในรพ.สต.และศสม.การส่งเสริมกำลังคนและการสนับสนุนสิ่งจำเป็นในรพ.สต.และศสม. • สนับสนุนบุคลากรลงในรพ.สต. ปี 53-55 • นวก.สาธารณสุข 43 คน • พยาบาลวิชาชีพ 27 คน • นักการแพทย์แผนไทย 5 คน • เจ้าพนักงานเภสัชกรรม 1 คน • เจ้าพนักงานทันตฯ 11 คน • เจ้าพนักงานสาธารณสุข 56 คน

  12. การส่งเสริมกำลังคนและการสนับสนุนสิ่งจำเป็นในรพ.สต.และศสม.การส่งเสริมกำลังคนและการสนับสนุนสิ่งจำเป็นในรพ.สต.และศสม. • จำนวนรพ.สต./ศสม.168/3 แห่ง • ผ่านเกณฑ์ Ontop payment ประเภท 1 100 บาท/หน่วย 0 แห่ง ประเภท 2 A50 บาท/หน่วย 78 แห่ง B 48 บาท/หน่วย 53 แห่ง C 44 บาท/หน่วย 29 แห่ง ไม่ผ่าน 7 แห่ง

  13. ครุภัณฑ์ตามเกณฑ์คุณภาพ รพ.สต./ศสม. • รพ.สต.ขนาดใหญ่/ศสม27/3 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 27/3 แห่ง คิดเป็น 100% • รพ.สต.ทั่วไป 141 แห่ง ผ่านเกณฑ์ 141 แห่ง คิดเป็น 100%

  14. 2. พยาบาลเวชปฏิบัติใน รพ.สต. / ศสม.

  15. การกระจายบุคลากร

  16. การกระจายบุคลากร

  17. 3. แพทย์ที่ปรึกษาใน รพ.สต. / ศสม.

  18. การแพทย์ที่ปรึกษาในรพ.สต./ศสม.การแพทย์ที่ปรึกษาในรพ.สต./ศสม. • จำนวนรพ.สต./ศสม.168/3 แห่ง • แพทย์ในรพช. ทั้งหมด 89 คน • จำนวนรพ.สต./ศสม.ที่มีแพทย์ออก OPD 32 แห่ง • รพ.สต.ที่ยังไม่ได้วางระบบที่ปรึกษา 0 แห่ง ทุก รพ.สต. /ศสม. มีแพทย์ที่ปรึกษาประจำ รพ.สต. /ศสม.

  19. สัดส่วนการแพทย์ที่ปรึกษาในรพ.สต./ศสม.สัดส่วนการแพทย์ที่ปรึกษาในรพ.สต./ศสม. • แพทย์ 1 ท่านต่อ 1 รพ.สต. 0 แห่ง • แพทย์ 1 ท่านต่อ 2 รพ.สต. 114 แห่ง • แพทย์ 1 ท่านต่อ 3 รพ.สต. 36 แห่ง • แพทย์ 1 ท่านต่อ 4 รพ.สต. 18 แห่ง

  20. 4. ความพร้อมในการดำเนินการตามนโยบาย

  21. ความพร้อมการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวงความพร้อมการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวง การดูแลเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ ผู้ด้อยโอกาส

  22. ความพร้อมการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวงความพร้อมการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวง การดูแลเด็กและสตรี • พัฒนารพ.สายใยรักระดับทอง 100% • พัฒนาศักยภาพจนท.ด้านบริการ • ประกวดนวัตกรรมการดูแลแม่และเด็ก • พัฒนาตำบลนมแม่โดย SRT ในโครงการสายใยรัก • มีแผนพัฒนาขยายตำบลนมแม่ในอีก 3 อำเภอในปี 2556

  23. ความพร้อมการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวงความพร้อมการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวง การดูแลผู้สูงอายุ • คัดกรองผู้สูงอายุ • สนับสนุนกายอุปกรณ์ • ประกวดชมรมผู้สูงอายุ • ประกวดวัดส่งเสริมสุขภาพ • จัดบริการตาม Core packet

  24. ความพร้อมการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวงความพร้อมการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวง การดูแลผู้ด้อยโอกาส • จัดบริการและดูแลผู้ด้อยโอกาส • สนับสนุนกายอุปกรณ์ • พัฒนา OM (ผู้พิการทางสายตา) • พัฒนาศักยภาพจนท.ในการดูแลผู้ด้อยโอกาส • สนับสนุนนักกายภาพทุกรพ. • พัฒนาเครือข่ายผู้ดูแลผู้พิการ โดยนักกายภาพ และสหวิชาชีพ

  25. ความพร้อมการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวงความพร้อมการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวง การป้องกัน และบำบัด รักษา ผู้ติดยาเสพติด

  26. โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด สถานการณ์ด้านการบำบัด (๑ ต.ค.๕๕ – ๑๐ มกราคม ๒๕๕๖) - ระบบสมัครใจบำบัด เป้าหมาย ๒,๔๕๐ คน ผลงาน ๓๗๙ คน (ร้อยละ ๑๕.๔๖ ) - ระบบบังคับบำบัด เป้าหมาย ๑,๐๖๑ คน ผลงาน ๓๗๖ คน (ร้อยละ ๓๕.๔๓ ) - ระบบต้องโทษบำบัด เป้าหมาย ๒๐๐ คน ผลงาน ๔๖ คน (ร้อยละ ๒๓.๐๐) การดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

  27. โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ผลการดำเนินงานด้านการติดตามหลังการบำบัดยาเสพติด ปี ๒๕๕๖ เป้าหมาย...จำนวน ๗,๒๘๗ คน ผลงาน ๓,๔๙๔ คน (ร้อยละ ๔๗.๙๔) การดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

  28. โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด แนวทางการดำเนินงาน ปี ๒๕๕๖ ๑.ร่วมประชุมจัดทำแผนการดำเนินงาน แบบบูรณณาการกับ ศพส.จ.ชย.และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ๒.ประชุมผู้รับผิดชอบงาน ฯ รพ./สสอ.เพื่อจัดทำแผนฯ ตามภารกิจ ๓.แต่งตั้งคณะทำงาน ศพส.สธ.ชย./ประชุม เดือนละ ๒ ครั้ง เพื่อควบคุม กำกับ ติดตามงาน การดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

  29. โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด การดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ๔. คัดกรองค้นหาผู้เสพ

  30. โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด การดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ๕. ประชาคมหมู่บ้าน/ชุมชน เพื่อร่วมมือแก้ปัญหา

  31. โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด การดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ๖. จัดค่ายบำบัดปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

  32. โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด การดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด ๗. รณรงค์ ประชาสัมพันธ์

  33. ความพร้อมการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวงความพร้อมการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวง การส่งเสริมสุขภาพ โรคไม่ติดต่อ

  34. อัตราผู้ป่วยในด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง จังหวัดชัยภูมิ (ต่อแสนประชากร) 34

  35. โครงการสนับสนุนเร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง • เป้าหมายและผลงาน(ตค.-ธค.๕๕)ในปี ๒๕๕๖ • ๑.ประชาชนอายุ ๓๕ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองเบาหวาน • ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ (ผลงาน ๒๗.๒๘) • ๒.ประชาชนอายุ ๓๕ปีขึ้นไป ได้รับการตรวจคัดกรองความดัน • โลหิตสูงไม่น้อยกว่าร้อยละ ๙๐ (ผลงาน ๒๗.๒๘) • ๓.กลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวานในปี ๒๕๕๕ ป่วยเป็นโรคเบาหวานในปี ๒๕๕๖ ไม่เกินร้อยละ ๕(ผลงาน ๓.๓๗) 35

  36. โครงการสนับสนุนเร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง เป้าหมายและผลงาน(ตค.-ธค.๕๕)ในปี ๒๕๕๖ ๔.กลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคความดันโลหิตสูงในปี ๒๕๕๕ ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงในปี ๒๕๕๖ ไม่เกินร้อยละ ๑๐ (ผลงาน ๔.๓๐) ๕.ผู้ป่วยเบาหวาน /ความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖๐ (ผลงาน ตรวจภาวะแทรกซ้อนทางตา ร้อยละ ๑๔.๕๐ ตรวจภาวะแทรกซ้อนทางไต ร้อยละ ๑๖.๐๐ตรวจภาวะแทรกซ้อนทางเท้า ร้อยละ ๒๔.๒๐ ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางไต ร้อยละ ๑๖.๗๕) ๖. สตรีอายุ ๓๐-๖๐ ปีได้รับการตรวจมะเร็งปากมดลูก สะสม ๔ ปีไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ (ผลงาน ๖๔.๕๐) 36

  37. โครงการสนับสนุนเร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (ต่อ) • วิธีดำเนินการ • ๑.จัดทำแผนปฏิบัติงานตามยุทธศาสตร์ของกระทรวงสาธารณสุข และของจังหวัด ในระดับตำบล อำเภอ และจังหวัด • ๒. ควบคุม กำกับ ติดตาม นโยบายด้านการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกัน รักษาและฟื้นฟูสภาพ รวมทั้งมีการบูรณาการกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ เช่น อปท.พมจ. เป็นต้น 37

  38. โครงการสนับสนุนเร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ๓. บริหารจัดการและสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงาน ๔.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ NCD BOARD และ คณะอนุกรรมการฯ และประชุมต่อเนื่อง ๕.พัฒนาศักยภาพบุคลากรทุกระดับ ให้สามารถปฏิบัติงานได้ตาม เป้าหมาย เช่น การตรวจคัดกรองภาวะแทรกซ้อน การดูแลผู้ป่วยโรคต่างๆ 38

  39. โครงการสนับสนุนเร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ๖. สนับสนุนให้มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ข้อมูลข่าวสาร และ การสื่อสารความเสี่ยง ให้ถึงกลุ่มเป้าหมาย ๗. สนับสนุนการรณรงค์การสร้างสุขภาพ เช่น ลดการบริโภคหวาน มัน เค็ม การออกกำลังกาย กลุ่มช่วยเหลือดูแลกันเอง ลดการสูบบุหรี่ และลดการดื่มสุรา ฯลฯ ๘. สนับสนุนการตรวจคัดกรองค้นหาโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในทุกระดับ 39

  40. โครงการสนับสนุนเร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (ต่อ) ๙.บริหารจัดการเรื่องข้อมูลข่าวสาร สนับสนุนให้มีการจัดเก็บข้อมูลด้านโรคเรื้อรัง เช่น จัดทำทะเบียนกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย กลุ่มที่มีภาวะแทรกซ้อน ตำบลจัดการสุขภาพ หมู่บ้านหรือชุมชนที่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ และ คลินิก DPAC ฯลฯ 40

  41. โครงการสนับสนุนเร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ๑๐. จัดประกวดอำเภอดีเด่นในการดำเนินงานโครงการบูรณาการสร้างสุขภาพดีวิถีชีวิตไทยจังหวัดชัยภูมิ และสนับสนุนให้เข้าประกวดระดับเขต และระดับภาค ๑๑. ควบคุม กำกับ ติดตามผลการดำเนินงานทุกเดือน 41

  42. โครงการสนับสนุนเร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ... ๑.การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมดำเนินการได้ช้า เนื่องจากประชาชนส่วนใหญ่ขาดความตระหนักต่อการลดโอกาสเสี่ยงของกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังและงบประมาณไม่เพียงพอ ข้อเสนอแนะ...ควรมีการประชาสัมพันธ์ในภาพกว้าง และขอให้ สนับสนุนงบประมาณให้เพียงพอ 42

  43. โครงการสนับสนุนเร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 43

  44. โครงการสนับสนุนเร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 44

  45. โครงการสนับสนุนเร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 45

  46. โครงการสนับสนุนเร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 46

  47. โครงการสนับสนุนเร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพเพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 47

  48. การสร้างสุขภาพเพื่อลดผลกระทบจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) การสร้างสุขภาพเพื่อลดผลกระทบจากโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง(สุขภาพดีวิถีชีวิตไทย) 48

  49. ความพร้อมการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวงความพร้อมการดำเนินงานตามนโยบายกระทรวง การลดความแออัด

  50. โรงพยาบาลไร้ความแออัด และพัฒนาเครือข่ายบริการปฐมภูมิ พื้นที่ดำเนินการ : อำเภอเมืองชัยภูมิ

More Related