1 / 129

การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ

การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ. สม เจตน์ มีแสงพราว คลังจังหวัดขอนแก่น. กรมบัญชีกลาง. วิธีการซื้อจ้างตามระเบียบพัสดุ. หลักการบริหารพัสดุ. สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ. ความหมาย : การซื้อ. การซื้อทุกชนิดที่มีการติดตั้ง ทดลอง และบริการอื่นที่เกี่ยวเนื่อง.

Télécharger la présentation

การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุ สมเจตน์ มีแสงพราว คลังจังหวัดขอนแก่น กรมบัญชีกลาง

  2. วิธีการซื้อจ้างตามระเบียบพัสดุวิธีการซื้อจ้างตามระเบียบพัสดุ

  3. หลักการบริหารพัสดุ สำนักมาตรฐานการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ

  4. ความหมาย: การซื้อ การซื้อทุกชนิดที่มีการติดตั้ง ทดลอง และบริการอื่นที่เกี่ยวเนื่อง การซื้อโดยระบุยี่ห้อสินค้าได้หรือไม่? ตามมติ ครม. แจ้งตามหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ สร 0203/ว 52 ลงวันที่ 28 มีนาคม 2520 กำหนดห้ามมิให้ส่วนราชการระบุยี่ห้อสินค้าที่จะซื้อ หรือกำหนดคุณลักษณะเฉพาะให้ใกล้เคียงยี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่ง ข้อยกเว้นเว้นแต่เป็นพัสดุที่โดยลักษณะของการใช้งานหรือมีข้อจำกัดทางเทคนิคที่จำเป็นต้องระบุยี่ห้อเป็นการเฉพาะตามระเบียบฯ ข้อ ๒๓ (๖) ดังนั้น ในกรณีจำเป็นต้องระบุยี่ห้อ ต้องใช้วิธีพิเศษจะใช้สอบราคาหรือประกวดราคามิได้

  5. ความหมาย: การจ้าง จ้างทำของ รับขน จ้างเหมาบริการ แต่ไม่รวมถึงการจ้างลูกจ้างของส่วนราชการ การรับขนในการเดินทางไปราชการ การจ้างที่ปรึกษา การจ้างออกแบบและควบคุมงาน และการจ้างแรงงาน จ้างมูลนิธิได้หรือไม่ ? กวพ. มูลนิธิไม่มีวัตถุประสงค์ในการรับจ้าง จึงจ้างมูลนิธิไม่ได้

  6. ความหมาย:งานก่อสร้าง • หมายถึง งานก่อสร้างตามหลักทั่วไปที่มีกฎหมาย ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรีหรือหนังสือเวียนที่เกี่ยวข้องอ้างอิงได้ สัญญาซื้อขายงานก่อสร้าง และหรือพร้อมติดตั้งโครงสร้างพื้นฐาน ให้หน่วยงานพิจารณาว่า หากลักษณะของสัญญามีงานก่อสร้างเป็นสาระสำคัญ ซึ่งมีราคาสูงกว่าราคาพัสดุที่ติดตั้งก็ให้ถือว่าเป็นงานก่อสร้าง มติคณะรัฐมนตรี วันที่ 2 ธันวาคม 2551

  7. ความหมาย:งานก่อสร้าง • หมายความรวมถึง • 1. งานเคลื่อนย้ายอาคาร • 2. งานดัดแปลง งานต่อเติม งานรื้อถอนและงาน • ซ่อมแซมซึ่งส่วนราชการเห็นว่ามีความจำเป็นจะต้องมีการควบคุม และดูแลการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างตลอดเวลาดำเนินการตามความเหมาะสม • (ว 1939 ลว 24 ก.พ.2537)

  8. งานก่อสร้าง งานปรับปรุงอาคารที่เป็นการปรับปรุงภายในอาคารไม่กระทบต่อโครงสร้างเดิม โดยการรื้อผนังเดิมกั้นใหม่เป็นกระจกกั้นห้องประชุม ย้ายดวงไฟ ย้ายเครื่องปรับอากาศ ติดตั้งมู่ลี่กั้นปรับแสง กั้นเป็น Partition ปูกระเบื้องยาง ปรับปรุงห้องประชุม ห้องสมุด ถือเป็น งานดัดแปลง • หากจำเป็นต้องมีการควบคุมดูแลการปฏิบัติงานของผู้รับจ้างตลอดเวลา จึงถือเป็น งานก่อสร้าง

  9. งานก่อสร้าง งานก่อสร้าง จะต้องคำนวณราคากลางตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2550 แจ้งตามหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0506 / 2362 ลงวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2550 และหนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0408.5 / ว 9 ลงวันที่ 7 มีนาคม 2550 ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ 21 มีนาคม 2550 เป็นต้นไป

  10. ความหมาย: ราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการ ราคาค่าก่อสร้างในงานก่อสร้างของทางราชการในแต่ละโครงการ ซึ่งได้จากการประเมินหรือคำนวณตามหลักเกณฑ์ที่คณะรัฐมนตรีกำหนด ราคากลางงานก่อสร้างของทางราชการจึงไม่ใช่ราคามาตรฐานของงานก่อสร้าง แต่เป็นราคาที่ ทางราชการยอมรับไม่สูงจนผู้ประกอบการได้กำไรมากเกินกว่าที่ควรได้รับ และเป็นราคาที่ไม่ต่ำจนผู้ประกอบการไม่สามารถที่จะดำเนินการก่อสร้างได้

  11. งานก่อสร้าง • งานก่อสร้าง จะต้องกำหนดค่า K • มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 สิงหาคม 2532แจ้งตาม หนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0203/ ว 109 ลงวันที่ 24 สิงหาคม 2532 เรื่องการพิจารณาช่วยเหลือผู้ประกอบอาชีพ งานก่อสร้าง • งานก่อสร้าง หรืองานซ่อมแซมอาคารวงเงินไม่เกิน 1 แสนบาท จะต้องแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดราคาหรือไม่ ? • มติ ครม. 6 ก.พ. 50 กำหนดให้งานก่อสร้างทุกงานต้องแต่งตั้งคณะกรรมการ กำหนดราคากลาง

  12. คณะกรรมการในการซื้อ/จ้างคณะกรรมการในการซื้อ/จ้าง • คณะกรรมการเปิดซองสอบราคา • คณะกรรมการรับ และเปิดซองประกวดราคา • คณะกรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา • คณะกรรมการจัดซื้อโดยวิธีพิเศษ • คณะกรรมการจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ • คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ • คณะกรรมการตรวจการจ้าง • คณะกรรมการกำหนดราคากลาง(มติคณะรัฐมนตรี)

  13. ข้อห้าม !! • แต่งตั้งกรรมการรับและเปิดซองประกวดราคา • เป็น กรรมการพิจารณาผลการประกวดราคา • แต่งตั้งกรรมการเปิดซองสอบราคาหรือพิจารณาผล • การประกวดราคาเป็น กรรมการตรวจรับพัสดุ

  14. องค์ประกอบของคณะกรรมการองค์ประกอบของคณะกรรมการ • ประธาน 1 คน • กรรมการอย่างน้อย 2 คน • แต่งตั้งจากข้าราชการพนักงานราชการ พนักงานมหาวิทยาลัย พนักงานของรัฐ ** ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2552 ** การแต่งตั้งคณะกรรมการจะต้องแต่งตั้งเป็นครั้ง ๆ ไป (ไม่จำเป็นต้องมีรูปแบบ)

  15. องค์ประกอบของคณะกรรมการต้องเป็นองค์ประกอบของคณะกรรมการต้องเป็น ข้าราชการเท่านั้นหรือไม่ ? • หลักการ • ประธาน / กรรมการ ตามความเหมาะสม • ผู้ตรวจรับ ข้าราชการ / ลูกจ้างประจำ • (กรณีซื้อ / จ้าง ไม่เกิน 10,000 บาท)

  16. กรณีประธานไม่มาปฏิบัติหน้าที่กรณีประธานไม่มาปฏิบัติหน้าที่ เมื่อถึงกำหนดเวลาเปิดซองสอบราคา หรือ รับซองประกวดราคาให้กรรมการที่มาเลือกกรรมการคนหนึ่งทำหน้าที่ประธาน โดยให้ปฏิบัติหน้าที่เฉพาะข้อ ๔๑ (๑) หรือข้อ ๔๙ แล้วรายงานประธาน

  17. การประชุมของคณะกรรมการการประชุมของคณะกรรมการ

  18. ผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งซื้อ / สั่งจ้าง นอกจากวิธีพิเศษ / กรณีพิเศษ • 1. หัวหน้าส่วนราชการ (ไม่เกิน 50 ล้านบาท) • 2. ปลัดกระทรวง (เกิน 50 ล้านบาท ไม่เกิน 100 ล้านบาท) • รัฐมนตรี (เกิน 100 ล้านบาท) • 4. ผู้ได้รับมอบอำนาจ

  19. ผู้มีอำนาจอนุมัติสั่งซื้อ / สั่งจ้าง โดยวิธีพิเศษ 1. หัวหน้าส่วนราชการ (ไม่เกิน 25 ล้านบาท) 2. ปลัดกระทรวง (เกิน 25 ล้านบาท ไม่เกิน 50 ล้านบาท) 3. รัฐมนตรี (เกิน 50 ล้านบาท) โดยวิธีกรณีพิเศษ หัวหน้าส่วนราชการไม่จำกัดวงเงิน

  20. โครงสร้างของอำนาจตามระเบียบโครงสร้างของอำนาจตามระเบียบ • อำนาจดำเนินการ • - อำนาจในการให้ความเห็นชอบในการซื้อจ้าง • - อำนาจในการแต่งตั้งคณะกรรมการ • อำนาจสั่งซื้อสั่งจ้าง • อำนาจลงนามในสัญญา

  21. วิธีการซื้อจ้าง

  22. วิธีการจัดซื้อหรือจ้างวิธีการจัดซื้อหรือจ้าง • วิธีตกลงราคา ไม่เกิน 100,000 บาท • วิธีสอบราคา เกิน100,000 บาท ไม่เกิน 2,000,000 บาท • วิธีประกวดราคา เกิน 2,000,000 บาท • วิธีพิเศษ เกิน 100,000 บาท แต่มีเงื่อนไข • วิธีกรณีพิเศษ ไม่มีกำหนดวงเงิน แต่มีเงื่อนไข • วิธีประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e-Auction) • ตามระเบียบฯ พัสดุ ปี 49

  23. วิธีการจัดซื้อหรือจ้าง(6 วิธี) กรณี1: ใช้วงเงินเป็นตัวกำหนดวิธีการ • 1. วิธีตกลงราคา ครั้งหนึ่งไม่เกิน 100,000 บาท • 2. วิธีสอบราคา ครั้งหนึ่งเกินกว่า 100,000 บาท แต่ไม่เกิน 2,000,000 บาท • 3. วิธีประกวดราคาครั้งหนึ่งเกินกว่า 2,000,000 บาทขึ้นไป

  24. กรณี2: ใช้วงเงินและเงื่อนไขเป็นตัวกำหนดวิธีการ • 4. ซื้อโดยวิธีพิเศษ • วงเงินเกินกว่า 100,000 บาท • เงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่งตามข้อ ๒๓ • จ้างโดยวิธีพิเศษ • วงเงินเกินกว่า 100,000 บาท • เงื่อนไขอย่างใดอย่างหนึ่งตามข้อ ๒๔

  25. กรณี3: ใช้เงื่อนไขเป็นตัวกำหนด 5. วิธีกรณีพิเศษ ได้แก่ การซื้อ/จ้างจากส่วนราชการ, รัฐวิสาหกิจ, หน่วยงานตามกฎหมายท้องถิ่น เงื่อนไข: 5.1) เป็นผู้ทำ/ผลิตเองและนายกรัฐมนตรีอนุมัติหลักการแล้ว 5.2) มีกฎหมาย/มติคณะรัฐมนตรี ให้ผู้ซื้อ / จ้าง

  26. กรณี4: อื่นๆ • การจัดซื้อ / จ้างด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ ปัจจุบันใช้บังคับตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2549 • การซื้อ / การจ้างครั้งหนึ่งมีราคาตั้งแต่ 2,000,000 บาท • ต่ำกว่า เป็นดุลพินิจ

  27. วิธีการซื้อจ้าง แบ่งเป็น 2 กลุ่ม 1. กลุ่มที่ใช้วิธีการทางเอกสาร 2. กลุ่มที่ใช้วิธีการเสนอราคาทางระบบ อิเล็กทรอนิกส์

  28. 1. กลุ่มที่ใช้วิธีการทางเอกสาร

  29. 2. กลุ่มที่ใช้วิธีการเสนอราคาทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ • วิธีเสนอราคาด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ตามระเบียบฯ 49

  30. การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง การแบ่งซื้อ แบ่งจ้าง หมายถึง การลดวงเงินที่จะซื้อ หรือจ้างในครั้งเดียวกัน ออกเป็นหลายครั้ง โดยไม่มีเหตุผลความจำเป็น และมีเจตนาที่จะหลีกเลี่ยง 1) แบ่งวงเงิน ให้ลดลงเพื่อเปลี่ยนวิธีจัดหาพัสดุ 2) ให้ผู้มีอำนาจสั่งซื้อ สั่งจ้าง เปลี่ยนไป

  31. วงเงินที่ได้รับมาพร้อมกันหรือไม่วงเงินที่ได้รับมาพร้อมกันหรือไม่ พัสดุที่จะจัดหาเป็นประเภทเดียวกันหรือไม่ พิจารณาจากความต้องการของผู้ใช้ พัสดุว่าต้องการใช้พร้อมกันหรือไม่ แนวทางการพิจารณาเรื่องแบ่งซื้อแบ่งจ้าง

  32. การแบ่งซื้อแบ่งจ้าง การจัดซื้อพัสดุประเภทชนิดเดียวกัน แม้ต่างขนาดและราคา เมื่อมีการประมาณการความต้องการในการใช้งานของทั้งปีแล้ว จะต้องจัดซื้อรวมในครั้งเดียวกัน เว้นแต่มีเหตุผลที่ชัดเจนที่จำเป็นต้องแยกซื้อที่ไม่ใช่เป็นการแบ่งซื้อแบ่งจ้าง เพื่อประโยชน์ในการบริหารการพัสดุ จะต้องกำหนดเงื่อนไขในการดำเนินการจัดซื้อโดยใช้สัญญาจะซื้อจะขายแบบราคาคงที่ไม่จำกัดปริมาณ เพื่อออกใบสั่งซื้อเป็นคราว ๆ ให้สอดคล้องกับการใช้งานจริง

  33. กรณีที่ส่วนราชการได้รับการจัดสรรเงินงบประมาณค่าซ่อมแซมถนน โดยจำแนกเป็นรายถนน ถือว่า เงินงบประมาณค่าซ่อมแซมของแต่ละถนน แยกออกจากกัน การดำเนินการจัดจ้างซ่อมแซมถนน จึงสามารถเลือกกระทำได้ในลักษณะหนึ่งลักษณะใดดังนี้ • เป็นรายครั้ง ๆ ละถนน • เป็นรายครั้ง ๆ ละกลุ่มถนน • เป็นรายครั้ง ๆ ละหลายกลุ่มถนน • ครั้งเดียวกันทุกถนน ความเห็น กวพ.

  34. กรณีที่ส่วนราชการได้รับการจัดสรรเงินงบประมาณค่าก่อสร้างอาคาร โดยจำแนกเป็นอาคาร ถือว่า เงินงบประมาณค่าก่อสร้างอาคารของแต่ละอาคารแยกออกจากกัน การดำเนินการจัดจ้างก่อสร้างอาคาร สามารถดำเนินการได้ในลักษณะหนึ่งลักษณะใดดังนี้ • เป็นรายครั้ง ๆ ละอาคาร • เป็นรายครั้ง ๆ ละกลุ่มอาคาร • เป็นรายครั้ง ๆ ละหลายกลุ่มอาคาร • ครั้งเดียวกันทุกอาคาร ความเห็น กวพ.

  35. ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้างขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง

  36. การทำรายงานความเห็นชอบการทำรายงานความเห็นชอบ

  37. รายงานขอซื้อ – จ้าง (ข้อ ๒๗) หลักการ ก่อนการซื้อ – จ้างทุกวิธีต้องทำรายงาน ข้อยกเว้นข้อ ๓๙ วรรคสอง ไม่ต้องมีรายงาน ตามระเบียบฯ ข้อ ๒๗

  38. รายละเอียดของรายงาน • เหตุผลความจำเป็น • รายละเอียดของพัสดุ • ราคามาตรฐาน หรือ ราคากลาง หรือ ราคา • ครั้งหลังสุดไม่เกิน 2 ปี • วงเงินที่จะซื้อ / จ้าง • กำหนดเวลาที่ต้องใช้ • วิธีจะซื้อ / จ้าง • ข้อเสนออื่น ๆ • - การแต่งตั้งคณะกรรมการ • - การออกประกาศสอบราคา หรือ • ประกวดราคา

  39. ข้อยกเว้น • การซื้อ/จ้าง โดยวิธีตกลงราคาในกรณีจำเป็นและเร่งด่วน เกิดขึ้นโดยไม่ได้คาดหมายไว้ก่อน และไม่อาจดำเนินการตามปกติได้ทัน ตามข้อ ๓๙ วรรคสอง ไม่ต้องรายงานขอซื้อหรือขอจ้าง แต่ต้องทำรายงานขอความเห็นชอบ

  40. การดำเนินการโดยวิธีตกลงราคาการดำเนินการโดยวิธีตกลงราคา 3 เจ้าหน้าที่ พัสดุ 4 ติดต่อ 1 เสนอราคา รายงาน (๒๗) 5 ใบสั่ง ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง หัวหน้าเจ้าหน้าที่พัสดุ ส่งของ/งาน 6 เห็นชอบ (๒๙) 2 คณะกรรมการตรวจรับพัสดุ/ ตรวจการจ้าง ผู้ตรวจรับพัสดุ/ผู้ตรวจรับการจ้าง หัวหน้าส่วนราชการ

  41. การดำเนินการโดยวิธีตกลงราคาการดำเนินการโดยวิธีตกลงราคา ข้อยกเว้น วิธีการ • เจ้าหน้าที่พัสดุ หรือผู้รับผิดชอบ • ดำเนินการไปก่อน • รายงานขอความเห็นชอบหัวหน้า • ส่วนราชการ • ใช้รายงานเป็นหลักฐานการตรวจรับ • วงเงินไม่เกิน 10,000 บาท • ทำรายงานเฉพาะรายการที่จำเป็นได้ • กรณีจำเป็นเร่งด่วน • ไม่ได้คาดหมายไว้ก่อน • ดำเนินการตามปกติไม่ทัน

  42. การตรวจสอบผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน(ระเบียบข้อ ๕ ประกอบข้อ ๑๕ ตรี วรรคสอง) ผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน หมายถึง 1. บุคคล /นิติบุคคล เป็นผู้มีส่วนได้เสีย (ทางตรง/อ้อม) รวมคู่สมรส/บุตรยังไม่บรรลุนิติภาวะ ได้แก่ - มีความสัมพันธ์ในเชิงบริหาร - มีความสัมพันธ์ในเชิงทุน - มีความสัมพันธ์ในลักษณะไขว้กัน 2. เข้าเสนอราคา /เสนองาน ในคราวเดียวกัน

  43. ความสัมพันธ์ในเชิงทุนความสัมพันธ์ในเชิงทุน • หุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนสามัญ • หุ้นส่วนไม่จำกัดความรับผิดใน หจก. • ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ใน บจก., บ.มหาชน (>25% / กวพ.กำหนด) • หุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วนสามัญ/หจก. • ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ใน บจก./บมจ.

  44. ความสัมพันธ์ในเชิงบริหารความสัมพันธ์ในเชิงบริหาร • ผู้จัดการ • หุ้นส่วนผู้จัดการ • กรรมการผู้จัดการ • ผู้บริหาร • ผู้มีอำนาจในการดำเนินงาน มีอำนาจหรือสามารถใช้อำนาจ ในการบริหารจัดการกิจการ บุคคลหรือนิติบุคคลอีกรายหนึ่งหรือหลายราย

  45. ความสัมพันธ์ในลักษณะไขว้กันความสัมพันธ์ในลักษณะไขว้กัน • ผู้จัดการ • หุ้นส่วนผู้จัดการ • กรรมการผู้จัดการ • ผู้บริหาร • ผู้มีอำนาจในการดำเนินงาน • หุ้นส่วนในห้างหุ้นส่วน • สามัญ/หจก. • ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ใน • บจก./บมจ.

  46. ตัวอย่าง: ผู้เสนอราคาที่มีผลประโยชน์ร่วมกัน เชิงบริหาร เชิงทุน เชิงไขว้

  47. เอกสารสอบราคา ประกาศเผยแพร่ (ประกาศย่อ) เอกสารสอบราคา ใบเสนอราคา แบบหลักประกันสัญญา แบบรูปรายการต่างๆ ตัวอย่างสัญญา

  48. เอกสารสอบราคาต้องแสดงรายการ ตามข้อ ๔๐ • คุณลักษณะเฉพาะของพัสดุที่ต้องการซื้อและจำนวนที่ต้องการ • คุณสมบัติของผู้เสนอราคาซึ่งจะต้องมีอาชีพขายหรือรับจ้าง • กรณีจำเป็นให้ระบุให้ผู้เสนอราคาส่งตัวอย่างแค๊ตตาล็อกหรือแบบรูปรายการ • กรณีจำเป็นต้องมีการตรวจทดลอง ให้กำหนดตัวอย่างในการตรวจทดลอง • สถานที่ติดต่อเกี่ยวกับแบบรูปรายการละเอียด กรณีมีการขายให้ระบุราคาขายด้วย

  49. เอกสารสอบราคาต้องแสดงรายการ ตามข้อ ๔๐ • ข้อกำหนดให้ผู้เข้าเสนอราคาเสนอราคารวมทั้งสิ้น และราคาต่อหน่วยหรือต่อรายการ • แบบใบเสนอราคา • กำหนดระยะเวลายืนราคา • กำหนดสถานที่ส่งมอบและวันส่งมอบ • กำหนดสถานที่ วัน เวลา เปิดซองสอบราคา

  50. เอกสารสอบราคาต้องแสดงรายการ ตามข้อ ๔๐ • ข้อกำหนดให้ผู้เสนอราคาผนึกซองราคาให้เรียบร้อยก่อนยื่นซอง จ่าหน้าซองประธานกรรมการเปิดซอง ให้ส่งถึงส่วนราชการก่อนวันเปิดซอง กำหนดให้ส่งเอกสารหลักฐานต่าง ๆ พร้อมจัดทำบัญชีรายการเอกสารเสนอไปพร้อมกัน (กรณียื่นซองทางไปรษณีย์ให้กำหนดวิธีการปฏิบัติไว้ให้ชัดเจน) • กำหนดเงื่อนไขในการสงวนสิทธิ์กรณีไม่ไปทำสัญญาหรือข้อตกลงกับทางราชการเป็นผู้ทิ้งงาน • ข้อกำหนดให้ผู้เข้าเสนอราคาที่ได้รับการคัดเลือกให้ไปทำสัญญาต้องวางหลักประกันสัญญาตามชนิด และอัตราในข้อ ๑๔๑ และข้อ ๑๔๒

More Related