230 likes | 433 Vues
ประชาคมอาเซียน. ด.ญ.กวินนาฏ มีฤทธิ์ เลขที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 รายงานวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีพื้นฐาน 5 ปีการศึกษา 1/2555 โรงเรียนสตรีนครสวรรค์. สารบัญ. ประเทศไทย.
E N D
ประชาคมอาเซียน ด.ญ.กวินนาฏ มีฤทธิ์ เลขที่ 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 รายงานวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีพื้นฐาน 5 ปีการศึกษา 1/2555 โรงเรียนสตรีนครสวรรค์
ประเทศไทย ที่ตั้ง : ประเทศไทย หรือ ราชอาณาจักรไทย เป็นรัฐที่ตั้งอยู่ในทวีปเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีพรมแดนทางทิศตะวันออกติดลาวและกัมพูชา ทิศใต้ติดอ่าวไทยและมาเลเซีย ทิศตะวันตกติดทะเลอันดามันและพม่า และทิศเหนือติดพม่าและลาว โดยมีแม่น้ำโขงกั้นเป็นบางช่วงเมืองหลวง : กรุงเทพมหานครภาษาราชการ : ภาษาไทย ส่วนภาษาอื่นที่มีการใช้อยู่บ้าง เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาญี่ปุ่น เป็นต้นรัฐบาล : ระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา และระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ประชากร : 65.98 ล้านคน (ปี พ.ศ. 2549) สกุลเงิน : บาท ตราแผ่นดิน สัตว์ประจำชาติ
ภูมิประเทศ : ประเทศไทยมีสภาพทางภูมิศาสตร์ที่หลากหลาย ภาคเหนือประกอบด้วยเทือกเขาจำนวนมาก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือเป็นที่ราบสูงภาคกลางเป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา ซึ่งสายน้ำไหลลงสู่อ่าวไทย ภาคใต้มีจุดที่แคบลง ณ คอคอดกระแล้วขยายใหญ่เป็นคาบสมุทรมลายูภูมิอากาศ : ภูมิอากาศของไทยเป็นแบบเขตร้อน อากาศร้อนที่สุดในเดือนเมษายน-พฤษภาคม ยกเว้นภาคใต้ที่มีอากาศร้อนชื้นตลอดทั้งปี วัดพระแก้ว อาหาร
ประเทศมาเลเซีย ที่ตั้ง : ตั้งอยู่ในเขตเส้นศูนย์สูตร ประกอบด้วยดินแดนสองส่วน คือมาเลเซียตะวันตก ตั้งอยู่บนคาบสมุทรมลายู และมาเลเซียตะวันออก ตั้งอยู่บนเกาะบอร์เนียว (กาลิมันตัน) พื้นที่ : 329,758 ตารางกิโลเมตรเมืองหลวง : กรุงกัวลาลัมเปอร์ เมืองราชการ : เมืองปุตราจายาประชากร : จำนวน 26.24 ล้านคนภาษา : ภาษาราชการ คือ ภาษามาเลย์ นอกจากนี้มีการใช้ภาษาอังกฤษ จีน และทมิฬศาสนา : อิสลามหน่วยเงินตรา : ริงกิตมาเลเซีย ตราแผ่นดิน สัตว์ประจำชาติ
ลักษณะภูมิประเทศ: มาเลเซียตะวันตก มีภูเขาทอดยาวทางตอนกลางเกือบตลอด เป็นอุปสรรคต่อการคมนาคม ทำให้มีที่ราบ 2 ด้าน ที่ราบด้านตะวันตกกว้างกว่า เป็นเขตเศรษฐกิจที่สำคัญ คือ เขตปลูกยางพารา และขุดแร่ดีบุก มาเลเซียตะวันออก ส่วนใหญ่เป็นภูเขา ที่ราบสูงอยู่ทางตอนใน มีที่ราบย่อม ๆ อยู่ตามชายฝั่งทะเล ลักษณะภูมิอากาศ:ตั้งอยู่ใกล้เส้นศูนย์สูตร มีอากาศร้อนชื้นแถบศูนย์สูตร อยู่ในอิทธิพลของลมมรสุม กรุงกัวลาลัมเปอร์ อาหาร ข้าวมันไก่
เมืองหลวง : สิงคโปร์ พื้นที่ : ประกอบด้วยเกาะสิงคโปร์และเกาะใหญ่น้อยบริเวณใกล้เคียง 63 เกาะ มีพื้นที่ รวมทั้งสิ้น 682.7 ตารางกิโลเมตร (ประมาณเกาะภูเก็ต) ประชากร : จำนวน 4.35 ล้านคน (ในพ.ศ. 2548)ศาสนา : พุทธ (42.5%) อิสลาม (14.9%) คริสต์ (14.5%) ฮินดู (4%) ไม่นับถือศาสนา (25%)เชื้อชาติ : ประกอบด้วยชาวจีน (76.5%) ชาวมาเลย์ (13.8%) ชาวอินเดีย (8.1%) และอื่น ๆ (1.6%)ภาษา : มีมาลายูเป็นภาษาประจำชาติ และอังกฤษเป็นภาษาราชการ นอกจากนี้ยังมีการใช้ภาษาจีนกลาง และทมิฬ ประเทศสิงคโปร์ ตราแผ่นดิน เมอร์ไลออน
ภูมิประเทศ :ภาคกลางและภาคตะวันตกเป็นเนินเขา ซึ่งเนินเขาทางภาคกลางเป็นเนินเขาที่สูงที่สุดของประเทศ เป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำสายสำคัญของสิงคโปร์ และภาคตะวันออกเป็นที่ราบต่ำ ชายฝั่งทะเลมักจะต่ำกว่าระดับน้ำทะเล ต้องมีการถมทะเลภาษา : มีมาลายูเป็นภาษาประจำชาติ และอังกฤษเป็นภาษาราชการ วันชาติ : 9 สิงหาคม (แยกตัวจากสหพันธรัฐมาเลเซีย เมื่อวันที่ 9 สิงหาคม 2508)เข้าเป็นสมาชิกอาเซียน : 8 สิงหาคม 2510เงินตรา : ดอลลาร์สิงคโปร์
ชื่อทางการ : เนการาบรูไนดารุสซาลาม แปลว่า ดินแดนแห่งความสงบสุขที่ตั้ง : ทางตะวันตกเฉียงเหนือของเกาะบอร์เนียว แบ่งเป็นสี่เขตคือ เขต Brunei-Muaraเขต Belaitเขต Temburongและเขต Tutongพื้นที่ : 5,765 ตารางกิโลเมตร โดยพื้นที่ร้อยละ 70 เป็นป่าไม้เขตร้อน เมืองหลวง : บันดาร์เสรีเบกาวัน (Bandar Seri Begawan)ประชากร : 370,00 คน ประเทศบรูไน ตราแผ่นดิน ยูดาน ซามบาล ซีไร เบอซานตา
ภูมิอากาศ : อากาศโดยทั่วไปค่อนข้างร้อนชื้น มีปริมาณฝนตกค่อนข้างมาก อุณหภูมิเฉลี่ย 28 องศาเซลเซียส ภาษา : ภาษามาเลย์ (Malay หรือ BahasaMelayu) เป็นภาษาราชการรองลงมาเป็นภาษาอังกฤษและภาษาจีนศาสนา : ศาสนาประจำชาติคือ ศาสนาอิสลาม (67%) ศาสนาอื่น ๆ ได้แก่ ศาสนาพุทธ (13%) ศาสนาคริสต์ (10%) และฮินดูหน่วยเงินตรา : ดอลลาร์บรูไน ระบอบการปกครอง : สมบูรณาญาสิทธิราชย์
ประเทศกัมพูชา พื้นที่ : พื้นที่ทั้งหมด 181,035 ตารางกิโลเมตร หรือมีขนาดประมาณ 1 ใน 3 ของประเทศไทย เส้นเขตแดนโดยรอบประเทศยาวประมาณ 2,000 กิโลเมตร โดยมีเส้นเขตแดนติดต่อกับประเทศไทยยาว 798 กิโลเมตรสภาพภูมิอากาศ : ร้อนชื้น มีฤดูฝนยาวนาน อุณหภูมิโดยเฉลี่ย 20 - 36 องศาเซลเซียสเมืองหลวง : กรุงพนมเปญ (Phnom Penh)เขตการปกครอง : มี 4 กรุง ได้แก่ กรุงพนมเปญ กรุงไพลิน กรุงแกบ กรุงพระสีหนุ และ 20 จังหวัด ประชากร : 14.1 ล้านคน ตราแผ่นดิน อาม็อก
ระบอบการปกครอง : ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขภายใต้รัฐธรรมนูญสภานิติบัญญัติ ภาษา : ภาษาเขมรเป็นภาษาราชการ ส่วนภาษาที่ใช้โดยทั่วไป ได้แก่ อังกฤษ ฝรั่งเศส เวียดนาม จีน และไทยศาสนา : ศาสนาประจำชาติคือศาสนาพุทธ นิกายเถรวาท (แยกเป็น 2 นิกายย่อย คือ ธรรมยุตินิกายและมหานิกาย) และศาสนาอื่นๆ อาทิ ศาสนาอิสลามและศาสนาคริสต์ หน่วยเงินตรา : เงินเรียล
ประเทศลาว พื้นที่ : 236,800 ตารางกิโลเมตร (ประมาณครึ่งหนึ่งของประเทศไทย)เมืองหลวง : นครหลวงเวียงจันทน์ประชากร : 5.6 ล้านคน (ปี 2548) ประกอบด้วยลาวลุ่มร้อยละ 68 ลาวเทิงร้อยละ 22 ลาวสูงร้อยละ 9 รวมประมาณ 68 ชนเผ่าศาสนา : ร้อยละ 75 นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 16-17 นับถือผี ที่เหลือนับถือศาสนาคริสต์ ประมาณ 100,000 คน) และอิสลาม (ประมาณ 300 คน)ภาษา : ภาษาลาวเป็นภาษาราชการรูปแบบการปกครอง : ระบอบสังคมนิยมคอมมิวนิสต์โดยพรรคการเมืองเดียว ตราแผ่นดิน สัตว์ประจำชาติ
พระธาตุหลวง สะพานมิตรภาพไทยลาว การแบ่งเขตการปกครอง : แบ่งเป็น 16 แขวง และ 1 เขตปกครองพิเศษ (นครหลวงเวียงจันทน์) แขวงที่สำคัญได้แก่ เวียงจันทน์ สะหวันนะเขต หลวงพระบาง จำปาสัก คำม่วนวันชาติ : 2 ธันวาคมระบบเศรษฐกิจ : เริ่มปฏิรูปจากระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมสู่ระบบเศรษฐกิจเสรีการตลาด ตามนโยบาย “จินตนาการใหม่” เมื่อปี 2529สกุลเงิน : กีบ
ประเทศเวียดนาม ชื่ออย่างเป็นทางการ: สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม พื้นที่ : 331,033 ตารางกิโลเมตร (0.645 เท่าของประเทศไทย)เมืองหลวง : กรุงฮานอย (Hanoi) ประชากร : เวียดนามมีประชากรมากกว่า 89 ล้านคน ถือเป็นประเทศที่มีประชากรมากที่สุดเป็นอันดับ 13 ของโลกศาสนา : พุทธ (นิกายมหายาน)ภาษาราชการ : ภาษาเวียดนามรูปแบบการปกครอง : ระบอบสังคมนิยม โดยพรรคคอมมิวนิสต์เป็นพรรคการเมืองเดียว ตราแผ่นดิน หมี่กะทิญวน
สกุลเงิน :ด่อง อากาศ :กรุงฮานอยและบริเวณตอนเหนือของเวียดนามมีอากาศค่อนข้างหนาวเย็น และชื้นในช่วงเดือนพฤศจิกายน-มีนาคม ดังนั้น ในช่วงเวลาดังกล่าวควรเตรียมเสื้อกันหนาวไปด้วย ช่วงเดือนมิถุนายน-ตุลาคม อากาศค่อนข้างร้อนจัด การคมนาคม:เวียดนามมีท่าอากาศยานขนาดใหญ่ 6 แห่ง คือ ท่าอากาศยานโนยบ่ายในกรุงฮานอย ท่าอากาศยานเติ่นเซินเญิ๊ต นครโฮจิมินห์ ท่าอากาศยานลองแท็งท่าอากาศยานจู๋ลาย ใน จ.กว๋างนาม กับท่าอากาศยานนครด่าหนัง
ประเทศฟิลิปปินส์ ที่ตั้ง : ทิศตะวันตกและทิศเหนือติดกับทะเลจีนใต้ ทิศตะวันออกและทิศใต้ติดกับมหาสมุทรแปซิฟิก พื้นที่ 298,170 ตารางกิโลเมตร (ประมาณ 3 ใน 5 ของประเทศไทย) ประกอบด้วย 7,107 เกาะ ชายฝั่งทะเลยาว 34,600 กิโลเมตร อยู่ห่างจากกรุงเทพฯ ประมาณ 1,800 กิโลเมตร เมืองหลวง : กรุงมะนิลาประชากร : 88.7 ล้านคน (พ.ศ.2550)ภูมิอากาศ : อากาศเมืองร้อนภาษา : ฟิลิปิโน (Filipino) และอังกฤษเป็นภาษาราชการ ตราแผ่นดิน ดอกพุดแก้ว
ศาสนา : โรมันคาธอลิกร้อยละ 83 โปรเตสแตนท์ร้อยละ 9 มุสลิมร้อยละ 5 พุทธและอื่น ๆ ร้อยละ 3 หน่วยเงินตรา :เปโซ ลักษณะภูมิประเทศ :เป็นหมู่เกาะของเทือกเขาหินใหม่ พื้นที่ทุกเกาะมีภูเขาเป็นแกนกลาง มีที่ราบอยู่น้อย เป็นที่ราบแคบ ๆ ที่ราบสำคัญ คือ ที่ราบตอนกลางของเกาะลูซอน เรียกว่า ที่ราบมะนิลา เป็นที่ราบที่ใหญ่ที่สุด ลักษณะภูมิอากาศ : มรสุมเขตร้อน ได้รับความชุ่มชื้นจากลมมรสุมทั้ง 2 ฤดูได้รับฝนจากลมพายุไต้ฝุ่น และดีเปรสชั่น
ประเทศอินโดนีเซีย เมืองหลวง : ได้แก่ จาการ์ตา เมืองสำคัญ ได้แก่ จาการ์ตา สุราบายา บันดุง เมดาน เซมารัง ปาเลมบัง ที่ตั้ง : อินโดนีเซียมีพื้นที่ 5,193,250 ตารางกิโลเมตร เป็นแผ่นดิน 2,027,087 ตารางกิโลเมตร เป็นพื้นที่ทะเล 3,166,163 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศหมู่เกาะที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ประกอบด้วยเกาะใหญ่น้อยกว่า 17,508 เกาะ รวมอยู่ในพื้นที่ 4 ส่วน ประชากร : ประมาณ 220 ล้านคน ประกอบด้วยชนพื้นเมืองหลากหลายกลุ่มซึ่งพูดภาษาต่างกันกว่า 583 ภาษา ร้อยละ 61 อาศัยอยู่บนเกาะชวา ตราแผ่นดิน เสือเบงกอล
ศาสนา : ชาวอินโดนีเซียร้อยละ 87 นับถือศาสนาอิสลาม ภาษา : ภาษาประจำชาติ ได้แก่ ภาษาอินโดนีเซีย ภูมิอากาศ : อากาศร้อนชื้นแบบศูนย์สูตร มี 2 ฤดู คือ ฤดูแล้ง (พฤษภาคม-ตุลาคม) และฤดูฝน (พฤศจิกายน-เมษายน) สกุลเงิน : รูเปียห์ (Rupiah) เขตการปกครอง : อินโดนีเซียแบ่งการปกครองเป็น 30 จังหวัด และเขตการปกครองพิเศษ 3 เขต ได้แก่ กรุงจาการ์ตา นครย็อกยาการ์ตา และจังหวัดอาเจห์
ประเทศพม่า เมืองหลวง : เนปิดอพื้นที่ : 657,740 ตารางกิโลเมตร (ประมาณ 1.3 เท่าของไทย) ประชากร : 50.2 ล้านคน ภาษาราชการ: ภาษาพม่า ศาสนา : ศาสนาพุทธ รูปแบบการปกครอง : เผด็จการทางทหาร ปกครองโดยรัฐบาลทหารภายใต้สภาสันติภาพและการพัฒนาแห่งรัฐ สกุลเงิน : จ๊าด ตราแผ่นดิน ดอกประดู่
ภูมิประเทศ:ส่วนใหญ่จะเป็นเทือกเขาสูงจากเหนือลงใต้ เพราะเป็นแนวเทือกเขาหิมาลัยสลับกับพื้นที่ที่เป็นที่ราบสูงมียอดเขาที่สูงที่สุดในประเทศ คือ ยอดเขาคากาโบราซี ภูมิอากาศ:สภาพภูมิอากาศส่วนใหญ่ในบริเวณที่เป็นเทือกเขาสูงทางตอนกลางและตอนเหนือของประเทศ จะมีอากาศแห้ง และร้อนมากในฤดูร้อน ส่วนในฤดูหนาวอากาศจะเย็นมาก ตามชายฝั่งทะเลและบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำจะ แปรปรวนในช่วงเปลี่ยนฤดู
จบการนำเสนอ ขอบคุณค่ะ