1 / 47

พืชเส้นใย

พืชเส้นใย. โดย ประวิตร โสภโณดร spravit@ratree.psu.ac.th ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หาดใหญ่ 90112. พืชเส้นใย (Fiber Crops). สิ่งทอ เครื่องนุ่งห่ม บรรจุภัณฑ์. เชือก ยัดใส้เบาะ เยื่อกระดาษ น้ำมัน. ชนิดของเส้นใยตามลักษณะทางกายภาพ.

london
Télécharger la présentation

พืชเส้นใย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. พืชเส้นใย โดย ประวิตร โสภโณดร spravit@ratree.psu.ac.th ภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ หาดใหญ่ 90112

  2. พืชเส้นใย (Fiber Crops) • สิ่งทอ • เครื่องนุ่งห่ม • บรรจุภัณฑ์ • เชือก • ยัดใส้เบาะ • เยื่อกระดาษ • น้ำมัน

  3. ชนิดของเส้นใยตามลักษณะทางกายภาพชนิดของเส้นใยตามลักษณะทางกายภาพ เส้นใยประเภทเซลล์เดียว Hairs เส้นใยจากส่วนเปลือกของลำต้น Bast เส้นใยจากส่วนท่อน้ำท่ออาหารของใบ Fibro-vascular system เส้นใยจากเนื้อไม้ Woody fiber เส้นใยจากส่วนอื่น ๆ Others

  4. ชนิดของเส้นใยตามลักษณะคุณสมบัติ ของส่วนที่นำไปใช้ประโยชน์ • สิ่งทอ Textile fiber • เชือก ผูกมัด Cardage fiber • จักสานBrush or Mat fiber • ยัดใส้ รองเบาะ Stuffing and upholsterry materials • เยื่อกระดาษ Paper making materials

  5. ธรรมชาติการเกิดเส้นใยธรรมชาติการเกิดเส้นใย • Leaf fiber or Hard fiber • Hair fiber • Bast fiber • Cuticle • Epidermis • Cortex • Phloem • Cambium • Woody core

  6. คุณภาพและมาตรฐานของเส้นใยคุณภาพและมาตรฐานของเส้นใย • คุณภาพทางกายภาพ Physical properties • Strength test Tensile strength • Breaking load gm/mm, lb/tex, lb/in2 • Micronaire Stiffiness • Bending properties Resillience • Resistance to fatigue Fiber fineness, gm/tex

  7. คุณภาพและมาตรฐานของเส้นใยคุณภาพและมาตรฐานของเส้นใย • คุณภาพทางเคมี Chemical properties • Cellulose Hemicellulose • Lignin Pectin • Resin fats, Wax

  8. ฝ้าย Cotton MALVACEAE • Gossypium spp. 2n = 26 or 52 • Wild lintless diploid species • The old world linted diploid species • The new world linted tetraploid species

  9. Wild lintless diploid species • Section I Strutianagenome C • Section II Erioxylagenome D • Section III Klotzschianagenome D • Section IV Thurberanagenome D • Section V Anomalagenome B • Section VIStocksianagenome E

  10. The old world linted diploid species • Section VII Herbacea(asiatic cotton) genome A • Gossypium herbaceum • race africanum • race acerifolium • race persicum • race kuljianum • race wightianum • G. arboreum • race indicum • race burmanicum • race sinense • race bangalense • race sudanense

  11. The new world linted tetraploid species • Section VIII Hirsutagenome A & D • Gossypium barbadense (sea island cotton) • Gossypium hirsutum (upland cotton) • Gossypium tomentosum

  12. land preparation : furrow irrigation vs sprinkle

  13. primary root secondary root Cotton root is a tap root system

  14. Cotton flower after pollination

  15. bract or epicalyx oil gland peduncle Cotton ball notice the oil gland or nectary gland

  16. แหล่งกำเนิด • Section VII G. herbaceum , G. aboreum มีแหล่งกำเนิดใน เขตร้อนของทวีปอัฟริกา แถบประเทศอังโกล่า และโมแซมบิค • Section VIII G. barbadense & G. hirsutum มีแหล่งกำเนิดใน อเมริกาใต้ จากการผสมข้ามของฝ้าย 2n

  17. นิเวศวิทยา • ปลูกแพร่กระจายในเขต 37 อาศาเหนือ ถึง 35 องศาใต้ • ชอบอากาศร้อน ไม่สามารถทนต่ออากาศหนาวกว่า 15 องศา ซ หรือในที่สูงกว่า 3000 ฟุต • อุณหภูมิที่เหมาะสมคือ 21 - 22 องศา ซ • ส่วนใหญ่ไม่ตอบสนองต่อช่วงแสง

  18. นิเวศวิทยา • ไม่ชอบฝนชุก โดยเฉพาะขณะสมอสุกแก่ แต่ควรมีฝน 1000 - 1500 มม / ปี • ต้องการแสงแดดจัด และเป็นพืช C3 • ขึ้นได้ในดินร่วนปนทราย หรือ ในดินตะกอนที่มีการระบายน้ำดี ชอบดินที่มีปฏิกริยาดินเป็นกลางหรือเป็นด่างเล็กน้อย

  19. แหล่งปลูกฝ้าย • สหรัฐอเมริกา จีน โซเวียต อินเดีย อียิปต์ ปากีสถาน เม็กซิโก ยูกันดา ไนจีเรีย แทนซาเนีย • ประเทศไทยปลูกฝ้ายแทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ เช่น นครราชสีมา เลย สุโขทัย เพชรบูรณ์ จันทบุรี ปราจีน อุตรดิตถ์ แพร่ น่าน ชัยภูมิ นครสวรรค์ ลพบุรี สระบุรี กาญจนบุรี อุดรธานี ประจวบคีรีขันธ์

  20. พื้นที่ปลูก ผลผลิต และผลผลิตเฉลี่ยของประเทศผู้ผลิตฝ้าย ประเทศ พื้นที่ปลูก ผลผลิต ผลผลิตเฉลี่ย (1000 ไร่) (1000 ตัน) (กก./ไร่) จีน 25,171 13,050 518 สหรัฐเอมริกา 33,128 9,590 289 อินเดีย 56,250 6,172 110 ปากีสถาน 18,438 5,735 311 อุเบกิสถาน 9,009 3,006 334 ตุรกี 4,563 2,151 471 บราซิล 5,149 1,935 372 ออสเตรเลีย 3,044 1,786 587 กรีซ 2,585 1,250 484 ไทย 158 36 228

  21. เนื้อที่ปลูก ผลผลิต ปี 36/37 ภาค เนื้อที่ ผลผลิตรวม ผลผลิตเฉลี่ย (ไร่) (ตัน) (กก/ไร่) เหนือ 158,059 31,930 202 อิสาน 65,291 12,369 189 กลาง 104,816 22,275 213 รวม 328,166 66,574 203 สถิติปีเพาะปลูก 2536 / 37 ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร , 2538

  22. เนื้อที่ปลูก ผลผลิต ปี 39/40 ภาค เนื้อที่ ผลผลิตรวม ผลผลิตเฉลี่ย (ไร่) (ตัน) (กก/ไร่) เหนือ 181,978 39,603 218 อิสาน 52,689 11,087 210 กลาง 102,149 24,452 213 รวม 336,816 75,142 239 ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2541 รายงานผลการสำรวจ ฝ้ายและปอ

  23. เนื้อที่ปลูก ผลผลิต ปี 43/44 ภาค เนื้อที่ ผลผลิตรวม ผลผลิตเฉลี่ย (ไร่) (ตัน) (กก/ไร่) เหนือ 93,209 20,435 227 อิสาน 28,029 5,974 223 กลาง 42,190 9,768 238 รวม 163,428 36,177 229 ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, 2544 (www/oae.go.th)

  24. พันธุ์ฝ้าย • ฝ้ายฤดูแล้ง • Deltapine 16 • ฝ้ายฤดูฝน ได้ แก่ • Reba BTK 12, ตากฟ้า 1, นครสวรรค์ 1, ศรีสำโรง 1, 2, 3 และศรีสำโรง 60 • พันธุ์พื้นเมือง 8 - 9 %

  25. การเตรียมดิน • กะให้ หลังปลูก 170 วัน หมดฝนอย่างแท้จริง • ภาคอิสาน ควรปลูกเดือน มิถุนายน ถึง กรกฏาคม • ภาคเหนือ ควรปลูกต้นเดือน กรกฏาคม • ภาคกลางตอนบน ควรปลูก เดือน กรกฏาคม • ภาคกลางตอนล่าง ควรปลูกเดือน กรกฏาคม ถึง สิงหาคม (เกษตรกรปลูก พค. - กย.)

  26. การเตรียมดิน • ฝ้ายฤดูแล้ง ปลูกในเขตชลประทาน ควรปลูกเดือน พฤศจิกายน ถึงกลาง ธันวาคม • ไถพรวนให้ปราณีต และ ควรยกร่อง ในการปลูกฝ้ายในที่นา

  27. การปลูก • หยอดหลุม ในฤดูฝนใช้ระยะ 100 - 150 X 50 ซม. ในปลายฤดูฝนใช้ระยะ 50 - 80 X 25 ซม. ใช้เมล็ด 3 กก/ไร่ การหยอดเมล็ดรอฝน เรียกว่าหยอดตากดาย • ปลูกแบบ Skip row จะปลูก 4 แถว เว้น 1 แถว เพื่อสะดวกในการฉีดพ่นสารเคมี

  28. การควบคุมกำจัดวัชพืช • ฉีดสารเคมีแบบ pre emergence เช่น fluometuron, diuron, nitralin, alachlor, oxadiazon, linuron หรือ metrolachlor • ฉีดสารเคมีแบบ post emergence เช่น paraquat • ใช้แรงคนทำรุ่น เมื่อฝ้ายอายุ 21, 35 และ 50 วัน หรือจนพุ่มใบคลุมดินแล้ว

  29. การใส่ปุ๋ย • ควรใส่ปุ๋ยอัตรา 12 - 12 -16 กก/ไร่ • ฝ้าย ปลูกในดินเหนียว ใส่ 16 - 16 - 8 อัตรา 50 กก/ไร่ เมื่ออายุ 15 - 20 วัน และ ใส่ 46 - 0 - 0 อัตรา 10 กก/ไร่ เมื่ออายุ 1 - 1.5 เดือน • ฝ้าย ปลูกในดินร่วนทราย ใช้สูตร 15 - 15 - 15 แทนในการใส่ครั้งแรก ส่วนครั้งที่สองใส่เหมือนกัน

  30. โรค • โรคใบหงิก (Leaf roll) สาเหตุจากเชื้อไวรัส • โรคเน่าคอดิน (Damping off) สาเหตุจากเชื้อรา Rhizoctonia solani • โรคแอนแทรคโนส (Antracnose) สาเหตุจากเชื้อบักเตรี Glomerella gossypii และ Collectotricum gossypii

  31. โรค และการป้องกันกำจัด • โรคใบไหม้ (Bacterial blight หรือ Angular leaf spot หรือ Black arm) สาเหตุจากเชื้อบักเตรี Xanthomonas campestris, X. malvacearum • การป้องกัน ควรกำจัดแมลงพาหะของโรค และ ใช้พันธุ์ต้านทาน

  32. แมลงศัตรู • แมลงเจาะทำลายสมอ • หนอนเจาะสมออเมริกัน Heliothis armigera • หนอนสไปนี Earias fabia • หนอนเจาะสมอสีชมพู Pectinophora gossypiella • แมลงดูดน้ำเลี้ยง • เพลี้ยจั๊กจั่น Amarasca biguttula • เพลี้ยอ่อน Aphis gossypii • เพลี้ยไฟ Thrips palmi • แมลงหวี่ Bemisia tabaci • ไรแดง Tetranychus spp.

  33. แมลงศัตรู • แมลงกัดกินใบ • หนอนม้วนใบ Sylepta derogata • หนอนคืบ Cosmophila flava • หนอนกระทู้ Spodoptera litura • แมลงดูดกินน้ำเลี้ยงจาก สมอ และเมล็ดฝ้าย • มวนแดง Dysdercus eingulatus • มวนดำ Oxycarenus laetus

  34. แมลงศัตรู • แมลงดูดกินน้ำเลี้ยงจาก สมอ และเมล็ดฝ้าย • มวนแดง Dysdercus eingulatus • มวนดำ Oxycarenus laetus • แมลงเจาะทำลายต้น • ด้วงงวงเจาะโคนต้น Pempherulus affinis

  35. การป้องกัน กำจัดแมลง • ใช้พันธุ์ต้านทาน เช่น นครสวรรค์ 1, ศรีสำโรง 2 และ ศรีสำโรง 60 • ใช้วิธีชีววิธี เช่น มวนเพชรฆาต ด้วงเต่า ต่อแตน แมลงวันก้นขน บักเตรี Bacillus และ ไวรัส Nuclear polyhedrosis

  36. การป้องกัน กำจัดแมลง • ใช้สารเคมี • กำจัดแมลงพวกปากดูด เช่น ยาน้ำ dimethoate, oxydimethalmethyl ยาคลุกเมล็ด carbofuran, disulfoton ยาหยอดก้นหลุม disulfoton, aldicarb, carbofuran • กำจัดหนอนเจาะสมอ และแมลงกัดกินใบ เช่น deltametrin, cypermetrin, sulprofos, thiodicarb

  37. วิธีการฉีดพ่นสารเคมี • ตามกำหนดอายุฝ้าย 14 - 16 ครั้ง • พ่นเมื่อมีแมลงระบาดถึง ระดับเศรษฐกิจ โดยสำรวจแปลงทุก 5 - 7 วัน ให้ทั่วทั้งแปลง และสุ่มตัวอย่างไม่น้อยกว่า 100 ต้นในเนื้อที่ 5 ไร่

  38. ระบบการปลูกฝ้ายร่วมกับพืชอื่นระบบการปลูกฝ้ายร่วมกับพืชอื่น • ถั่ว และพืชอายุสั้น ก่อนการปลูกฝ้าย โดยปลูกตั้งแต่เดือนเมษายน • ปลูกร่วมกับข้าวโพด เมื่อข้าวโพดอายุ 80 วัน

  39. ดอกฝ้ายหลังการผสมเกสรดอกฝ้ายหลังการผสมเกสร สมอฝ้ายเริ่มทะยอยสุกแก่ ฝ้ายสุกแก่ ปุยฝ้ายจะดันให้สมอแตก จะต้องรีบเก็บก่อนปุยฝ้ายสกปรก หรือโดนฝน

  40. การเก็บเกี่ยว • ฝ้ายผสมตัวเอง เมื่อดอกบานก็มักผสมเกสรเสร็จแล้ว • หลังการผสมเกสร ดอกจะพัฒนาเป็นสมอ และสุกแก่ ใน 50 วัน • เนื่องจาก ดอกทะยอยการออก ดังนั้น สมอจึงทะยอยการสุก เป็นเวลา 40 - 60 วัน โดยทั่วไป จะรอให้มีสมอสุกแก่ 60 - 70 % จึงเก็บ

  41. การหีบฝ้าย และการอัดเบลGinning & Bailing • การหีบฝ้าย นำเอาปุยฝ้ายทั้งเมล็ด มาหีบ เพื่อแยกเมล็ด ออกจากเส้นใย หรือฝ้ายปุย • การอัดเบล นำเอาส่วนเส้นใย ไปอัดเบลขนาด 312 กก. เพื่อส่งขาย โรงงานปั่นด้าย โรงงานผ้านวม หรือพ่อค้า • เมล็ด ขายแก่โรงงานสกัดน้ำมัน • เศษฝ้าย Fuzz ขายแก่ผู้เพาะเห็ด

  42. การตลาด และ การจำหน่ายฝ้าย เกษตรกร ผู้ปลูก พ่อค้าคนกลาง โรงงานหีบฝ้าย โรงงานปั่นด้าย โรงงานทอผ้า โรงงานสกัดน้ำมันพืช โรงงานผสมอาหารสัตว์

  43. สถานการณ์การผลิตฝ้าย • แนวโน้มการผลิต (2533 - 39) • ของประเทศ พื้นที่ปลูก ลดลง 7 - 9 % ผลผลิตต่อไร่ เพิ่ม 0.5 - 0.8 % ผลผลิตรวมลดลง 6 - 7 % • ของโลก พื้นที่ปลูก ลดลง 1.5 % ผลผลิตต่อไร่ ลดลง 0.65 % • การตลาด (2536/37) • การนำเข้าฝ้ายที่ยังไม่ได้สาง จาก สหรัฐ ฯ จีน และ อินเดีย เพิ่มขึ้น กว่า 2 แสน ตัน • เกษตรกรขายได้ราคาคงที่ จากผลกระทบของอุตสาหกรรมสิ่งทอ

  44. สถานการณ์การผลิตฝ้าย • การตลาด (ต่อ) • มีการส่งออกเศษฝ้าย ประมาณ 5400 ตัน ไปสหราชอาณาจักร ฝรั่งเศส • ปัญหาการผลิต • ราคาไม่แน่นอน • ต้องการ แรงงาน และ การใช้สารเคมีมาก เกิดปัญหาสารพิษสะสมในกสิกรผู้ผลิต • ฝ้ายคุณภาพต่ำ

  45. ฝ้ายตัดแต่งสารพันธุกรรมฝ้ายตัดแต่งสารพันธุกรรม • ฝ้ายพันธุ์ Bt หรือ Bollguard cotton • ดูเอกสารเรื่องพืช GMO’s • ถูกนำเข้ามาอย่างไร เมื่อใด และมีปัญหาอะไร ??

More Related