1 / 36

เจาะใจ...ผู้บริหาร... กับความสำเร็จของงานวัณโรค

เจาะใจ...ผู้บริหาร... กับความสำเร็จของงานวัณโรค. นายแพทย์สุวิทย์ โรจนศักดิ์โสธร รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี 1 มิถุนายน 2555. แรงบันดาลใจ. ผลการดำเนินงานด้านวัณโรคที่ผ่าน... ย้อนหลัง 3-5 ปี ... พบว่า Success Rate > 80% แต่ ผลงาน TB จ . อุบลฯ

lorand
Télécharger la présentation

เจาะใจ...ผู้บริหาร... กับความสำเร็จของงานวัณโรค

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เจาะใจ...ผู้บริหาร...กับความสำเร็จของงานวัณโรคเจาะใจ...ผู้บริหาร...กับความสำเร็จของงานวัณโรค นายแพทย์สุวิทย์ โรจนศักดิ์โสธร รองนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี 1 มิถุนายน 2555

  2. แรงบันดาลใจ ผลการดำเนินงานด้านวัณโรคที่ผ่าน...ย้อนหลัง 3-5ปี... พบว่า Success Rate > 80% แต่ ผลงาน TB จ.อุบลฯ ลำดับที่ 4 ของเขตตรวจราชการ

  3. เปรียบเทียบกับจังหวัดอื่นๆในเขต 7พบว่า ลำดับที่ 6-7 ของเขตสคร.7

  4. อัตราการรักษาสำเร็จ ปีงบประมาณ 2551-2554 (ผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนรักษา ปี 2550-2553)

  5. อัตราการขาดยา ปีงบประมาณ 2551-2554 (ผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนรักษา ปี 2550-2553)

  6. อัตราการตาย ปีงบประมาณ 2551-2554 (ผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนรักษา ปี 2550-2553)

  7. จะทำอย่างไรดี กระบวนการ PMQA.

  8. นโยบาย • สสจ. / รอง สสจ. • กำหนด KPI. ในการรับรองการปฏิบ้ติงาน และการกำหนดเป้าหมายการทำงานที่ชัดเจน • การให้กำลังใจทีมงานผ่านสื่อ Online หมวดที่ 1 และ 2 การนำองค์กร / การวางแผนยุทธศาสตร์

  9. ตั้งเป้าหมาย...ปักธง... @เพิ่มอัตรารักษาสำเร็จ @ ลดอัตราการขาดยา • @ ลดอัตราการตาย

  10. การแยกแยะกลุ่มลูกค้า • กลุ่มเสี่ยงสูงต่อการ ขาดยา / เสียชีวิต / ดื้อยา • พื้นที่เสี่ยงสูง / เสี่ยงซ้ำซาก • กลุ่งเสี่ยงต่อการติดเชื้อ หมวดที่ 3 การมุ่งเน้นลูกค้า

  11. การวิเคราะห์ข้อมูล : โปรแกรม สคร.10 • ประเมินผลการดำเนินงาน • ประเมินรายเดือน • การ Register / การ Admit. / การตรวจ Closed contact case / การทำ VCT. / การตรวจ HIV. / การให้ ARV. / การเยี่ยมบ้าน หมวดที่ 4 การจัดการข้อมูล

  12. การวิเคราะห์ข้อมูล / ประเมินผลการดำเนินงาน 2. ประเมินรอบ 2 เดือน • การเยี่ยมบ้าน • Conversion rate 3. ประเมินรอบ 6 เดือน • Suscess rate หมวดที่ 4 การจัดการข้อมูล

  13. การประชุมสัญจร นิเทศติดตามผลการดำเนินงาน.....แบบเสริมพลังและใกล้ชิด ( ตัวต่อตัว ) เป็นราย case • การสร้างเครือข่ายและการสื่อสารผ่าน Facebook group • การควบคุม ติดตาม กำกับ ประเมินผลทุกสิ้นเดือน • การมุ่งเน้นในจุดที่เป็นจุดอ่อนในการดำเนินการ - กลุ่มสูงอายุ , กลุ่ม HIV. , กลุ่มเสี่ยงขาดยา , กลุ่ม MDR.TB. หมวดที่ 5 , 6 การพัฒนาบุคลากร / กระบวนการ

  14. 4.ระบบการส่งต่อข้อมูลที่เป็น Real time • แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่ผลงานดีๆ .....(Best practice) ผลลัพท์ที่ได้จากการทำงาน คือ รางวัลจากผู้บริหาร หมวดที่ 5 , 6 การพัฒนาบุคลากร / กระบวนการ

  15. การมอบนโยบายและกำหนดแผนยุทธศาสตร์การดำเนินงานวัณโรคที่ชัดเจนการมอบนโยบายและกำหนดแผนยุทธศาสตร์การดำเนินงานวัณโรคที่ชัดเจน

  16. นิเทศติดตามผลการดำเนินงาน....แบบเสริมพลังและใกล้ชิด (ตัวต่อตัว) ติดตามเป็นราย case(ทัวร์นกขมิ้น)

  17. ระบบการส่งต่อข้อมูลที่เป็น Real time

  18. ระบบการติดตามงานและข้อมูลในระดับชุมชนผ่าน social network (Face book)

  19. แลกเปลี่ยนเรียนรู้และเผยแพร่ผลงานดีดี....(Best pactice) ผลลัพท์ที่ได้จากการทำงาน คือ รางวัลจากผู้บริหาร

  20. ผู้ป่วยแต่ละรายจะได้รับการดูแลติดตามการรักษาอย่างต่อเนื่องครบถ้วน และตรวจสอบได้(กินยาครบทุกมื้ออย่างน้อย 180 วัน) แนวทางการดำเนินงานควบคุมวัณโรค(จังหวัด) - วิเคราะห์สถานการณ์/วางแผนงาน - นิเทศติดตาม(ตรวจสอบ) - สรุปประเมินผล/สะท้อนปัญหา - สนับสนุนวิชาการ สสจ. สุ่ม surprise visit สุ่ม surprise visit ผู้ป่วย (+ญาติ) รพ.+ HTC วินิจฉัย ขึ้นทะเบียน รักษา ติดตามจนหาย ประเมินผลการรักษา กำกับการกินยา(DOT) 7-14 วัน สมุดประจำตัวผู้ป่วย ติดตาม(ตรวจสอบ)/ประเมินผล สุ่ม surprise visit ผู้ประสานงานระดับอำเภอ(DTC) รพ.สต./สอ./PCU/CMU ประสานรับ-ส่งข้อมูลผู้ป่วย • ประสานรับ-ส่งข้อมูลผู้ป่วย - กำกับ/นิเทศ/ติดตาม - วิเคราะห์ข้อมูล/สรุปข้อมูล/ร่วมแก้ไขปัญหา • กำกับการกินยา(DOT) ทุกวัน - เยี่ยมบ้าน(surprise visit) ตามเกณฑ์ - คัดกรองผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน - ค้นหาในกลุ่มโรคเรื้อรัง/ผู้สูงอายุ

  21. ผลงานในภาพรวมของจังหวัดปีงบประมาณ 2555

  22. Conversion rate ปีงบประมาณ 2555(ประเมินการแปรเปลี่ยนของเสมหะ 2-3 เดือน ตามนโยบายผู้บริหาร ระหว่างเดือนตุลาคม 2554- มีนาคม 2555)

  23. Default rate และ Dead rate ปีงบประมาณ 2555(ประเมินการรักษาสำเร็จ 6-7 เดือน ตามนโยบายผู้บริหาร ผู้ป่วยที่ขึ้นทะเบียนเดือนมีนาคม-ตุลาคม 2554)

  24. Success rate ปีงบประมาณ 2555(ประเมินการรักษาสำเร็จ 6 เดือน ตามนโยบายผู้บริหาร ผู้ป่วยตั้งแต่เดือนมีนาคม-ตุลาคม 54) 90%

  25. Success rate ปีงบประมาณ 2555(ประเมินการรักษาสำเร็จ 6 เดือน ตามนโยบายผู้บริหาร ผู้ป่วยตั้งแต่เดือนมีนาคม-ตุลาคม 54) 95.5 94.1 93.8 93.3 89.0 91.2 87.7

  26. ความก้าวหน้า...ความสำเร็จ...ความภาคภูมิใจความก้าวหน้า...ความสำเร็จ...ความภาคภูมิใจ อัตราการขาดยา.......ลดลง........ อัตราตาย.......ลดลง........ เกิดทีมงานในรูปแบบสหสาขาวิชาชีพในการดูแลรักษาผู้ป่วยวัณโรคครอบคลุมทุกพื้นที่ ทีมมีความรู้ ความเข้าใจในการทำงานแบบมืออาชีพ อัตราการรักษาสำเร็จ.......เพิ่มขึ้น........

  27. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ 2. การประชุมสัญจร ( ทัวร์นกขมิ้น ) สร้างความเข้าใจร่วมกัน 3. การสื่อสาร การสร้างเครือข่ายการดูแลรักษา 4. การประเมินระยะสั้น แทน Cohort study 1. นโยบายและการสนับสนุนของผู้บริหาร ที่ให้อิสระทางความคิด ร่วมคิด...ร่วมวางแผน...ร่วมทำ..... ร่วมรับทั้งผิดและชอบ

  28. ปัญหาและอุปสรรค 1. ด้านการดำเนินงานวัณโรคตามนโยบาย DOT by Heart ยังไม่เข้มแข็ง เช่น การรับผู้ป่วยวัณโรคเสมหะแพร่เชื้อไว้รักษา ที่ รพ. 2. การค้นหาผู้ป่วยวัณโรคเสมหะแพร่เชื้อรายใหม่ จากผู้สัมผัสโรคร่วมบ้าน และจากกลุ่มเสี่ยงต่างๆ ได้น้อยกว่าร้อยละ 70 ซึ่งต่ำกว่าเกณฑ์ 3. ระบบการส่งต่อผู้ป่วยยังขาดความเข้มแข็งในการเชื่อมต่อระหว่าง รพ. กับพื้นที่ โดยเฉพาะ MDR TB

  29. ปัญหาและอุปสรรค 4. ขาดความจริงจังในการติดตามการดำเนินงานตาม นโยบายในระดับพื้นที่ เช่น การเยี่ยมบ้าน 5. ขาดการกำกับการกินยาโดยบุคลากรทางสาธารณสุข อย่างเข้มแข็งและต่อเนื่อง ทำให้ผู้ป่วยกินยา ไม่ สม่ำเสมอหรือไม่ครบ กลายเป็นวัณโรคดื้อยาต่อมา 6. ขาดความเชื่อมต่อกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อ ความร่วมมือในการดำเนินงานป้องกันความคุมโรค

  30. บทเรียนที่ได้รับ 2. การนำเอาประสบการณ์ บทเรียนของพื้นที่ที่ทำดีมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทำให้เกิดการตื่นตัว และเป็นแรงจูงใจให้เกิดความร่วมมือร่วมใจกันผลักดันให้เกิดผลงานในพื้นที่ 3. การใช้ระบบเทคโนโลยีในการสื่อสารประสานงาน ควบคุมกำกับติดตามประเมินผล 1. การนิเทศงานแบบเสริมพลังและใกล้ชิด เน้นการให้กำลังใจ ช่วยหาหนทางแก้ปัญหาและอุปสรรค (แก้ปัญหาด้วยปัญญา) ให้ข้อคิดเพื่อพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น

  31. THANK YOU FOR YOUR ATTENTION

More Related