1 / 131

รู้ทัน PMQA / KM

การพัฒนา คุณภาพ การบริหารจัดการภาครัฐ Public Sector Management Quality Award (PMQA). รู้ทัน PMQA / KM. รู้ทัน PMQA/KM. ในฐานะได้รับมอบหมายเป็นอนุกรรมการด้านการพัฒนาองค์กร หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ ปี 2551

lore
Télécharger la présentation

รู้ทัน PMQA / KM

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐPublic Sector Management Quality Award (PMQA)

  2. รู้ทัน PMQA / KM

  3. รู้ทัน PMQA/KM • ในฐานะได้รับมอบหมายเป็นอนุกรรมการด้านการพัฒนาองค์กร หมวด3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ ปี 2551 • ในฐานะอยู่ในหน่วยงานที่ต้องจัดทำระบบคุณภาพ ตามมาตรฐานสากล ว่าด้วยความสามารถห้องปฏิบัติการ • ไม่ใช่ตัวแทนของผู้รับผิดชอบจัดทำPMQA ของกรมปศุสัตว์ • ไม่ใช่การพูด เรื่องการนำเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐมาประยุกต์ใช้ในการดำเนินงาน

  4. จุดประสงค์การบรรยาย • เข้าใจ (รู้ทัน) PMQA • คิด วิเคราะห์ ประยุกต์นำมาใช้ให้ สอดคล้องกับองค์กร และนโยบายกรมปศุสัตว์(หากต้องทำแบบ….!!!)

  5. หัวข้อ • รู้จัก PMQA • รู้จัก KM • เข้าใจการดำเนินงาน PMQA ของกรมปศุสัตว์ • ความแตกต่างของจุดประสงค์การจัดทำ ISOVS PMQA

  6. ทำไมต้องทำPMQA กำหนดใช้ตามแผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบราชการไทย(2546-2550) การดำเนินการตามพระราชกฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.2546

  7. หนังสือราชการภายในบันทึกข้อความ ๑๕ กันยายน ๒๕๕๑ หนังสือยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ.๒๕๕๑-๒๕๕๕ แผ่นพับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ.๒๕๕๑-๒๕๕๕

  8. http://www.opdc.go.th/uploads/files/strategies_new2.pdf เอกสาร 69 หน้า

  9. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ.๒๕๕๑-๒๕๕๕ วิสัยทัศน์ใหม่ของการพัฒนาระบบราชการไทยคือ ระบบราชการไทย เก่ง ดี มีส่วนร่วม ตอบสนองทันต่อการเปลี่ยนแปลง เพื่อประโยชน์สุขของประชาชน

  10. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ.๒๕๕๑-๒๕๕๕ระบบราชการไทยที่พึงประสงค์ • ประชาชนเป็นศูนย์กลาง • ปรับขนาดราชการและกำลังคน เพื่อเปลี่ยนหน้าที่เป็นเพียงผู้สนับสนุน • ประสานกับฝ่ายการเมืองเพื่อประโยชน์สูงสุดของประเทศ • พร้อมและมีทัศนคติทำงานเป็นเครือข่าย ร่วมมือกับภาคส่วนอื่นๆในสังคม • ขีดความสามารถรับรู้ เรียนรู้และคาดการณ์ล่วงหน้า รวมถึงยืดหยุ่น คล่องตัว เปลี่ยนแปลงและริเริ่มสร้างนวัตกรรม • สร้างระบบธรรมาภิบาลของตนเองให้เกิดความโปร่งใส • ความเป็นเลิศในการปฏิบัติงาน • แสวงหา พัฒนา และธำรงรักษาบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถ ค่านิยมและกระบวนทัศน์อันเหมาะสมกับการปฏิบัติงานแนวใหม่

  11. ไม่ใช่ ยกเลิกหน่วยงาน ใช่ แนวทางการวิเคราะห์บทบาทภารกิจของหน่วยงานของรัฐ • ภารกิจ/งานนั้นยังจำเป็นต้องปฏิบัติอยู่หรือไม่? 2. ภารกิจ/งานนั้นมีหน่วยงานใดปฏิบัติอยู่แล้วหรือไม่? 3. ภารกิจ/งานนั้นเป็นภารกิจหลักใช่หรือไม่? 4. ภารกิจ/งานนั้นสามารถมอบอำนาจหรือกระจายอำนาจไปให้ราชการส่วนภูมิภาคหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการได้หรือไม่? 5. ภารกิจ/งานนั้นสามารถดำเนินการโดยจัดตั้งเป็นหน่วยงาน ของรัฐรูปแบบอื่นได้หรือไม่? 6. ภารกิจ/งานนั้นจำเป็นต้องดำเนินการโดย ภาครัฐทั้งหมดได้หรือไม่ 7.ภารกิจ/งานนั้นมีการทบทวนอำนาจหน้าที่ การจัดโครงสร้างระบบงาน และการใช้ทรัพยากรที่เหมาะสมหรือไม่? ไม่ใช่ ใช่ ยกเลิก/รวม/โอนงาน ไม่ใช่ แปรสภาพ/จ้างเหมา ใช่ ไม่ได้ ได้ โอนถ่าย ไม่ใช่ ใช่ ตั้งเป็นหน่วยงานรัฐรูปแบบอื่น ไม่ใช่ จ้างเหมา ใช่ ไม่ใช่ วางแผนพัฒนาองค์กร ใช่ จบการวิเคราะห์

  12. แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ.๒๕๕๑-๒๕๕๕ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการพัฒนาระบบราชการไทย • สร้างความเป็นเจ้าของ ในการบริหารการเปลี่ยนแปลง • ร่วมเป็นเจ้าภาพในการพัฒนาระบบราชการ

  13. ทำไมระบบราชการต้องพัฒนา?ทำไมระบบราชการต้องพัฒนา? คำตอบ: ราชการไทยต้อง ยั่งยืน

  14. ที่มาของ PMQA พ.ศ. 2545 ปฏิรูปราชการครั้งใหญ่

  15. ทำไมต้อง PMQA • ราชการไทยต้องการการเปลี่ยนแปลง เพื่อความยั่งยืน เป็นที่ต้องการของประชาชน • การเปลี่ยนแปลง คือ ต้องมีระบบคุณภาพ!!! • ระบบคุณภาพ คือระบบเพื่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการ • ทำไม ระบบคุณภาพ ต้องเป็น PMQA?

  16. ระบบคุณภาพตาม WTO National standard (ISOยอมรับความเท่าเทียมพื้นฐานในกลุ่มประเทศภาคพื้นยุโรป Bievre,2005) Specific standard ISO,FTA,ข้อตกลงร่วมทางการค้าetc Law (ความปลอดภัย ซื่อตรง ถูกกฎหมาย)

  17. PMQA(Public Sector Management Quality Award) รางวัลคุณภาพแห่งชาติของ USA (Malcolm Baldrige National Quality Award:1987) ร่วมกับ!!! Thailand Quality Award: TQA (2002:2545)

  18. TQA: กระทรวงอุตสาหกรรม

  19. inspection แนวความคิดของระบบคุณภาพ Quality control Quality assurance Total Quality Management Total Quality Assurance

  20. ระบบคุณภาพคือการประยุกต์TQM TQM is a management philosophy that seeks to integrate all organizational functions to focus on meeting customers needs and organizational objectives

  21. 8 QMP : ISO9001(9000)

  22. ทำไมประเทศไทยต้อง PMQA???

  23. กพร: PMQA • เริ่มคิด เริ่มทำ 2545 • อบรมๆๆๆๆๆๆ (โดยทีมงาน กพร/ บริษัทที่ กพรกำหนดรายชื่อ) • กพร เปลี่ยนแนว/ เพิ่มงาน/ ปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง • กลุ่มงานพัฒนาฯ • จัดทำเอกสาร • ตอบคำถาม • ประเมินตนเอง • ส่งหมวด เพื่อส่งผลการดำเนินงานประกวด

  24. ทุกหน่วยราชการจัดทำ PMQAตามแนวทางที่ กพร กำหนด

  25. ขั้นตอนเตรียมความพร้อมขั้นตอนเตรียมความพร้อม แต่งตั้งคณะทำงาน จัดทำแผนดำเนินการ (Road map) จัดประชุมชี้แจงให้ความรู้ เตรียมความพร้อมคณะทำงาน 2. ขั้นตอนพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร จัดทำผลการดำเนินงานขององค์กร*** ประเมินองค์กรด้วยตนเอง จัดลำดับความสำคัญของโอกาสในการปรับปรุงองค์กร จัดทำแผนปรับปรุงองค์กร สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ(ก.พ.ร.) การดำเนินงานการตามแนวทางการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ทำเอกสารเสนอ เอกสารสวย อ่านน้อยๆ รูปหรือแผนภูมิชัดเจน

  26. แนวทาง กพร กำหนดในการจัดทำระบบคุณภาพราชการ • ปี 2549 ส่งเอกสาร • ปี 2550 เอกสารควรอ่านง่าย(ตอบคำถาม/เน้นแผนภูมิ) • ปี 2551 ประเมินผลตนเอง • ปี 2552 เลือกหมวดส่ง 2 หมวดประกวด • ปี 2553 กำหนดเป็นตัวชี้วัด การจัดทำระบบคุณภาพราชการ

  27. ระบบคุณภาพ : ระบบว่าด้วยการรับรองคุณภาพ ขาดหน่วยงานรับรองระบบคุณภาพที่มีความสามารถ ระบบคุณภาพที่จัดทำ ก็ยังน่าสงสัยในระบบคุณภาพ

  28. ข้อกำหนด PMQA ข้อกำหนด Malcolm Baldrige National Quality Award

  29. ยานอนหลับชั้นดี ทำความเข้าใจข้อกำหนด PMQA

  30. ทำความรู้จักไปทีละหมวดทำความรู้จักไปทีละหมวด รู้จักเจตนารมณ์ พิจารณาข้อดี ข้อด้อย สิ่งที่ระบบราชการมีหรือขาดในปัจจุบัน

  31. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 7 หมวด 2การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล หมวด 1 การนำองค์กร 7ผลลัพธ์การ ดำเนินงาน 3การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6 การจัดการ กระบวนการ 4การวัด วิเคราะห์ และ การจัดการองค์ความรู้

  32. 1.1 การนำองค์กร การกำหนดทิศทางของส่วนราชการ การกำกับดูแลตนเองที่ดี การทบทวนผลการดำเนินงานของราชการ 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม ความรับผิดชอบต่อสังคม การดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม การให้การสนับสนุนต่อชุมชนที่สำคัญ ผู้นำ หมวด 1 การนำองค์กร

  33. หมวด 1 การนำองค์กร: 1.1 การนำองค์กร • การกำหนดทิศทางของส่วนราชการ • วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ระยะสั้น ระยะยาว ค่านิยม • การคำนึงถึงผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและความโปร่งใส • วิธีการสื่อสาร2ทางกับบุคคลกรภายในและผู้รับบริการให้รับรู้นโยบาย • การสร้างบรรยากาศให้เกิดการเรียนรู้ มีจริยธรรมและให้อำนาจตัดสินใจ • การกำกับดูแลตนเองที่ดี • ความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติราชการ การป้องกันทุจริต ประพฤติมิชอบและรักษาผลประโยชน์ผู้รับบริการและมีส่วนได้ส่วนเสีย • การทบทวนผลการดำเนินงานของราชการ • ตัวชี้วัด วิธีการทบทวน ประเมิน นำผลมาใช้ จัดลำดับความสำคัญ สร้างนวัตกรรม กำหนดผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง • วิธีการประเมินผู้บริหารทุกระดับ และวิธีการนำผลประเมินไปปรับปรุงองค์กร

  34. หมวด 1 การนำองค์กร: 1.2 ความรับผิดชอบต่อสังคม • ความรับผิดชอบต่อสังคม • กระบวนการจัดการและตัวชี้วัด กรณีผลการปฏิบัติมีผลทางลบต่อสังคม • กระบวนการเชิงรุก วิธีคาดการณ์ผลล่วงหน้า • การดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม • ผู้บริหารกำหนดวิธีปฏิบัติการดำเนินงานอย่างมีจริยธรรม • การให้การสนับสนุนต่อชุมชนที่สำคัญ • ผู้บริหารให้ส่วนราชการมีวิธีสนับสนุนชุมชน มีส่วนร่วมพัฒนาชุมชน

  35. เจตนารมณ์หมวด 1 หากเข้าใจและสามารถจัดทำหมวด 1 เป็นรูปธรรม • ผู้นำต้องให้คำมั่นสัญญาในการนำองค์กรไปสู้เป้าหมายที่กำหนด • ผู้นำต้องศึกษาเข้าใจองค์กรอย่างถ่องแท้ เป็นผู้นำวิสัยทัศน์ • ผู้นำ ต้องทำตาม ระบบที่วางไว้และติดตามให้ระบบเคลื่อน • ผู้นำมองภาพเชิงองค์รวม(system approach) • ผู้นำกำหนดสังคมเป็นผู้รับบริการ

  36. เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 7 หมวด 2 การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5การมุ่งเน้น ทรัพยากรบุคคล 7ผลลัพธ์การ ดำเนินงาน หมวด 1 การนำองค์กร 3การให้ความสำคัญ กับผู้รับบริการและ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6การจัดการ กระบวนการ 4การวัด วิเคราะห์ และ การจัดการองค์ความรู้

  37. 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ กระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ 2.2 การถ่ายถอดกลยุทธ์หลัก เพื่อนำไปปฏิบัติ การถ่ายทอดแผนปฏิบัติการ ไปสู่การปฏิบัติ การคาดการณ์ผลการดำเนินงาน หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์

  38. หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ • กระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์ • ระบุขั้นตอน ผู้เกี่ยวข้อง แผนยุทธศาสตร์ระยะสั้นและยาว • ปัจจัยที่ใช้ในการวิเคราะห์จัดทำกลยุทธ์ จุดแข็งจุดอ่อน โอกาส ความท้าทาย • เป้าประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ • ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์และกลยุทธ์ • ลำดับความสำคัญ • ความสมดุลของโอกาส ความท้าทายและผลประโยชน์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

  39. การถ่ายทอดแผนปฏิบัติการไปสู่การปฏิบัติการถ่ายทอดแผนปฏิบัติการไปสู่การปฏิบัติ วิธีการถ่ายทอดแผนไปสู่การปฏิบัติอย่างยั่งยืน การจัดสรรทรัพยากร แผนหลักการพัฒนาบุคลากรให้สอดคล้องแผน ตัวชี้วัด การคาดการณ์ผลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงานตามเป้า ผลการดำเนินงานเปรียบเทียบคู่แข่ง หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์2.2 การถ่ายถอดกลยุทธ์หลักเพื่อนำไปปฏิบัติ

  40. เจตนารมณ์หมวด 2 หน่วยราชการต้อง ทำงานแบบมีเป้าหมายเพื่อติดตามผล จะบรรลุเป้าหมาย ต้องรู้จักการวางแผนกลยุทธ์ วางแผนบนพื้นฐานข้อมูลที่เชื่อถือได้ และต้องมีการเปรียบเทียบกับหน่วยงานที่เหมาะสม ที่มากองแผนงานจัดอบรม ประชุม สัมมนา การทำแผนยุทธศาสตร์ของกรมปศุสัตว์และได้เอกสาร : แผนราชการสี่ปีกรมปศุสัตว์(2552-2555)!!!!!!!

  41. วิธีการทำแผนกลยุทธ์ เพื่อความเข้าใจตรงกัน และอาจจะเป็นประโยชน์กับหน่วยงาน ควรจัดเป็น workshop

  42. วิธีทำแผนกลยุทธ์ของกรมฯวิธีทำแผนกลยุทธ์ของกรมฯ • ผู้บริหารประชุม กำหนดวิสัยทัศน์ กำหนดพันธกิจ ตามคำแนะนำของบุคคลภายนอก ที่เชี่ยวชาญด้านการจัดทำกลยุทธ์ • คณะผู้บริหารทำความเข้าใจองค์กร เชิญผู้บริหารกรม 400 ท่านจัดทำ SWOT analysis • SWOT คือ ปัจจัยภายใน : จุดแข็งStrength จุดอ่อน Weak ปัจจัยภายนอก : โอกาส Opportunity คุกคาม Threath

  43. วิธีทำ SWOT analysis ของกรม • ทุกคนเสนอโดยการเขียน S/W/ O/ T เป็นอิสระ เท่าใดก็ได้ • จัดกลุ่ม S W O T ความคิดที่เสนอมาของทุกคน • จัดเรียงลำดับคะแนน ของทั่งสี่กลุ่ม • กำหนด 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ จากคะแนนที่สูงสุดในแต่ละกลุ่ม • ให้แต่ละกอง สำนักฯ ส่วนราชการกรม คิดกลยุทธ์ภายใต้ประเด็นยุทธศาสตร์เอง!!!!!

  44. ข้อโต้แย้ง วิธีกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ของกรมฯ • นำจุดอ่อน และอุปสรรค มากำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ เพื่อให้ไปกำหนดกลยุทธ์ภายหลัง(กำหนดกันเอง) • ขัดแย้งกับ หลักการนำจุดอ่อน อุปสรรค มากำหนดวิสัยทัศน์

  45. องค์ประกอบแผนราชการสี่ปี กรมปศุสัตว์ วิสัยทัศน์ :เป็นองค์กรนำการปศุสัตว์ไทยสู่ตลาดโลก พันธกิจ • วิจัยพัฒนา ถ่ายทอดความรู้และเทคโนโลยี • พัฒนาประสิทธิภาพการผลิตให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน • ป้องกัน ควบคุมและแก้ไขปัญหาโรคสัตว์ • กำกับ ดูแลและอำนวยความสะดวกให้เป็นไปตามกฎหมาย ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์(ตัวชี้วัด) กลยุทธ์/วิธีดำเนินการ แต่ละส่วนของกรมฯ กำหนด

  46. ประเด็นยุทธศาสตร์กรมปศุสัตว์ประเด็นยุทธศาสตร์กรมปศุสัตว์ • เร่งรัดดำเนินการตามภารกิจของกรมให้ตอบสนองต่อความต้องการด้านปศุสัตว์ของประเทศ • ส่งเสริมวิจัยและพัฒนาให้กรมเป็นศูนย์กลางภูมิปัญญาด้านปศุสัตว์ให้ได้มาตรฐาน • การสร้างและพัฒนาเครือข่ายด้านปศุสัตว์ให้เข้มแข็ง • การบริหารจัดการให้เข้มแข็งและเพิ่มสมรรถนะบุคลากร

  47. ประเด็นยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์(ตัวชี้วัด) • ประเด็นยุทธศาสตร์ ต้องชัดเจนถึง เป้าการวัด(measure of outcome) • ตัวอย่างของกรมฯ“ส่งเสริมวิจัยและพัฒนาให้กรมเป็นศูนย์กลางภูมิปัญญาด้านปศุสัตว์ให้ได้มาตรฐาน” • ควร “วิจัยเพื่อเพิ่มผลผลิ ต สุขภาพปศุสัตว์คุณภาพสินค้าปสุสัตว์” เป้าประสงค์ คือ GDP ภาคเกษตรเพิ่มขึ้นร้อยละสิบต่อปี • กลยุทธ์/โครงการ เช่น วิจัยพัฒนาวิธีทดสอบใหม่ๆที่ลดต้นทุนและใช้ได้จริง ( ผล output วิธีทดสอบได้ผลเท่า/ ดีกว่าเดิมแต่เร็วหรือราคาถูก ส่งผล outcome ลดมูลค่าการผลิตสินค้าเกษตรมีคุณภาพ)

More Related