1 / 57

กฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่

กฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่. พระราชบัญญัติ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ . ศ . 2539. ระเบียบว่าด้วยความรับผิดชอบ ของข้าราชการในทางแพ่ง พ.ศ.2503. พระราชบัญญัติ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ . ศ . 2539. - หน่วยงานของรัฐ ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่

lot
Télécharger la présentation

กฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กฎหมายว่าด้วย ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่

  2. พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พ.ศ. 2539 ระเบียบว่าด้วยความรับผิดชอบ ของข้าราชการในทางแพ่ง พ.ศ.2503

  3. พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พ.ศ. 2539 - หน่วยงานของรัฐ • ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ - การทำละเมิดต่อเอกชน (บุคคลภายนอก) - การทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ • คำนิยามที่สำคัญ - เจ้าหน้าที่

  4. การทำละเมิดต่อเอกชน / บุคคลภายนอก • ความรับผิดทางละเมิดของหน่วยงานของรัฐ -กรณีเจ้าหน้าที่กระทำในการปฏิบัติหน้าที่ - หน่วยงานของรัฐรับผิด/ถูกฟ้องแทนเจ้าหน้าที่ -ฟ้องกระทรวงการคลัง (ม.5) - กรณีเจ้าหน้าที่กระทำนอกเหนือการปฏิบัติหน้าที่ - หน่วยงานของรัฐไม่ต้องรับผิด/ถูกฟ้อง (ม.6)

  5. การทำละเมิดต่อเอกชน / บุคคลภายนอก (ต่อ) • สิทธิการดำเนินคดีของผู้เสียหาย - ฟ้องหน่วยงานของรัฐ (ฟ้องเจ้าหน้าที่ไม่ได้ แต่ศาลอาจรับฟ้องแล้วยกฟ้องทีหลัง) - ฟ้องผิดฟ้องใหม่ได้ภายใน 6 เดือน - อายุความการใช้สิทธิ 1 ปี / 10 ปี (ป.พ.พ. ม.448)

  6. การทำละเมิดต่อเอกชน / บุคคลภายนอก (ต่อ) • การร้องขอให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน - ผู้เสียหายตามม.5 - หน่วยงานของรัฐ - ออกใบรับคำขอเป็นหลักฐาน - พิจารณาภายใน 180 วัน - ขยายไม่เกิน 180 วัน (รายงานร.ม.ต.)

  7. การทำละเมิดต่อเอกชน / บุคคลภายนอก (ต่อ) • สิทธิไล่เบี้ยของหน่วยงานของรัฐ - เจ้าหน้าที่กระทำโดยจงใจ / ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง (ม.8 ว 1)ดูภาพนิ่ง 33 - คำนึงถึงความร้ายแรงแห่งการกระทำและความเป็นธรรม (ม.8 ว 2) - หักส่วนความเสียหาย (ม.8 ว 3) - ไม่นำหลักเรื่องลูกหนี้ร่วมมาใช้บังคับ (ม.8 ว 4)ดูภาพนิ่ง 34

  8. การทำละเมิดต่อเอกชน / บุคคลภายนอก (ต่อ) หน่วยงานของรัฐ/ เจ้าหน้าที่ ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้เสียหาย อายุความการใช้สิทธิไล่เบี้ย (ม.9) - 1 ปีนับแต่วันชดใช้ค่าสินไหมทดแทน

  9. การกระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐการกระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ • กรณีเจ้าหน้าที่กระทำในการปฏิบัติหน้าที่ - บังคับตามม.8 โดยอนุโลม • กรณีเจ้าหน้าที่กระทำมิใช่การปฏิบัติหน้าที่ - บังคับตามป.พ.พ - กระทำประมาทเลินเล่อ - รับผิดลักษณะลูกหนี้ร่วมได้

  10. การกระทำละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ (ต่อ) • อายุความการเรียกชดใช้ค่าเสียหาย - 2 ปีนับแต่วันที่หน่วยงานของรัฐ รู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวเจ้าหน้าที่ผู้จะพึงต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทน (ปฏิบัติหน้าที่+ไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่) - 1 ปีนับแต่วันที่หน่วยงานของรัฐมีคำสั่งตามความเห็นกระทรวงการคลัง

  11. การเรียกให้เจ้าหน้าที่ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนการเรียกให้เจ้าหน้าที่ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน • ออกคำสั่งเรียกให้ชดใช้ (คำสั่งทางปกครอง) - กรณีเจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่ - ละเมิดต่อเอกชน/บุคคลภายนอก (ม.8) - ละเมิดต่อหน่วยงานของรัฐ (ม.10 + ม.8) • อุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง • ใช้มาตรการทางปกครอง (พ.ร.บ.วิปกครองม.57-ยึด/อายัดทรัพย์สิน)

  12. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พ.ศ. 2539

  13. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พ.ศ. 2539 - ที่มา - คำนิยามที่สำคัญ • เจ้าหน้าที่ • ความเสียหาย • ผู้แต่งตั้ง

  14. หมวด 1 กรณีเจ้าหน้าที่กระทำละเมิด ต่อหน่วยงานของรัฐ 1.กระทรวงฯ (ส่วนกลาง+ภูมิภาค) 2.ท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ หน่วยงานอื่นฯ

  15. การดำเนินการเมื่อหน่วยงานของรัฐเกิดความเสียหายการดำเนินการเมื่อหน่วยงานของรัฐเกิดความเสียหาย - รายงานผู้บังคับบัญชาตามลำดับ - สอบข้อเท็จจริงเบื้องต้น - แต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริง ความรับผิดทางละเมิด

  16. การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด • มีเหตุอันควรเชื่อว่าความเสียหายเกิดจากการกระทำของ เจ้าหน้าที่ - กำหนดวันแล้วเสร็จ • กค. ประกาศกำหนดจำนวนความเสียหาย / ผู้แทนหน่วยงานร่วมเป็นกรรมการ - กรรมการจำนวนไม่เกิน 5 คน

  17. การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด(ต่อ)การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด(ต่อ) • ข้อยกเว้น • ไม่มีเหตุอันควรเชื่อว่าเกิดจากการกระทำของเจ้าหน้าที่ • รายงานผู้บังคับบัญชา • เห็นด้วย : ยุติเรื่อง • ไม่เห็นด้วย : แต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด • ชดใช้ค่าเสียหายครบถ้วน

  18. การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด(ต่อ)การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด(ต่อ) • กรณีร่วมกันแต่งตั้งคณะกรรมการ • เจ้าหน้าที่หน่วยงานของรัฐทำความเสียหายแก่หน่วยงาน ของรัฐอีกแห่งหนึ่ง (ข้อ 10) • หน่วยงานของรัฐมากกว่าหนึ่งแห่งได้รับความเสียหาย (ข้อ 11) • เกิดการทำละเมิดของเจ้าหน้าที่หลายหน่วยงาน (ข้อ 11)

  19. การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด(ต่อ)การแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด(ต่อ) • ผู้มีอำนาจแต่งตั้ง • ไม่ดำเนินการภายในเวลาสมควร • แต่งตั้งไม่เหมาะสม • ให้ปลัดกระทรวงปลัดทบวง รัฐมนตรี • แต่งตั้ง/เปลี่ยนแปลง (แทนผู้มีอำนาจ)ตามที่เห็นสมควร

  20. หน้าที่คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดหน้าที่คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด • กรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของกรรมการทั้งหมด (ข้อ 13) • ประธานไม่อยู่ให้เลือกกรรมการคนใดคนหนึ่ง ทำหน้าที่แทน • มติที่ประชุมถือเสียงข้างมาก ไม่เห็นด้วยให้ทำความเห็นแย้งไว้ (ข้อ 14) • ตรวจสอบข้อเท็จจริงรวมรวมพยานหลักฐานพยานบุคคล/ ผู้เชี่ยวชาญ • ตรวจสอบเอกสารวัตถุ / สถานที่

  21. หน้าที่คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด (ต่อ) • ต้องให้โอกาสแก่ผู้เสียหายได้ชี้แจง (ข้อ 15) • เสนอความเห็นให้ผู้แต่งตั้งพิจารณา โดยมีข้อเท็จจริง/กฎหมาย/พยานหลักฐาน (ข้อ 16) • สอบสวนให้แล้วเสร็จภายในกำหนดเวลา

  22. การดำเนินการของผู้มีอำนาจแต่งตั้งการดำเนินการของผู้มีอำนาจแต่งตั้ง • ไม่ผูกพันความเห็นของคณะกรรมการฯ (ข้อ 16) • ขอให้กรรมการสอบเพิ่มเติมหรือทบทวนได้ • ให้วินิจฉัยว่ามีผู้ใดต้องรับผิด/เป็นจำนวนเท่าใด/ยังไม่ต้องแจ้งให้ผู้รับผิดทราบ (ข้อ 17) • ให้ส่งผลให้กระทรวงการคลังตรวจสอบภายใน 7 วัน • ระหว่างรอผลกระทรวงการคลัง ให้ตระเตรียมออกคำสั่ง/ ฟ้องคดีมิให้ขาดอายุความ 2 ปี

  23. การดำเนินการของผู้มีอำนาจแต่งตั้ง (ต่อ) • หากกระทรวงการคลังมิได้แจ้งผลภายใน1 ปีหรือ 1 ปี 6 เดือน • ให้ดำเนินตามที่เห็นสมควร • เมื่อกระทรวงการคลังแจ้งผลแล้วให้ดำเนินการ • ตามความเห็นกระทรวงการคลัง • ตามที่เห็นว่าถูกต้อง (ข้อ 18) • กรณีแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมกัน • ผู้แต่งตั้งร่วมเห็นต่างกันให้เสนอครม. • เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดตาย ให้รีบดำเนินการภายในอายุความมรดก

  24. การดำเนินการของผู้มีอำนาจแต่งตั้ง (ต่อ) • ข้อยกเว้น - สำนวนที่ไม่ต้องส่งให้กค. ตรวจสอบ (ประกาศกค.)ว98 • การวินิจฉัยสั่งการที่แตกต่างจากความเห็นของ กค. - ราชการส่วนท้องถิ่น/รัฐวิสาหกิจ /หน่วยงานอื่นของรัฐตามพระราชกฤษฎีกาฯ • ให้ปฏิบัติตามที่เห็นว่าถูกต้อง

  25. การพิจารณาของกระทรวงการคลังการพิจารณาของกระทรวงการคลัง • ให้มี “คณะกรรมการพิจารณาความรับผิดทางแพ่ง” เป็นผู้พิจารณาให้ความเห็นต่อกระทรวงการคลัง (ข้อ 21) • ตรวจสอบพยานหลักฐานที่เกี่ยวข้อง • ให้บุคคลมาชี้แจงเพิ่มเติม • ให้รับฟังพยานหลักฐานเพิ่มเติม

  26. การชดใช้ค่าเสียหาย • ถ้าเป็นเงินชดใช้เป็นเงิน • ถ้าเป็นสิ่งของต้องชดใช้เป็นสิ่งของที่มีสภาพอย่างเดียวกัน • ถ้าซ่อมต้องทำสัญญาตกลง และซ่อมให้แล้วเสร็จโดยเร็ว(6 ด.) • ถ้าชดใช้ต่างจากทรัพย์สินที่เสียหายหรือสูญหาย ต้องทำความตกลงกับกระทรวงการคลัง

  27. การผ่อนชำระเงิน • เจ้าหน้าที่สามารถผ่อนชำระได้ตามหลักเกณฑ์ ของกระทรวงการคลัง ว115 • หากไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังกล่าว ให้ทำ ความตกลงกับกระทรวงการคลังเป็นกรณีไป • ห้ามฟ้องล้มละลายในกรณีที่ไม่มีเงินผ่อนชำระ เว้นแต่เข้าเงื่อนไขข้อ 27 แห่งระเบียบฯ

  28. หมวด 2 กรณีเจ้าหน้าที่กระทำละเมิด ต่อบุคคลภายนอก กระทรวงฯ (ส่วนกลาง+ภูมิภาค)

  29. การดำเนินการเมื่อเจ้าหน้าที่ทำให้บุคคลภายนอกได้รับเสียหายการดำเนินการเมื่อเจ้าหน้าที่ทำให้บุคคลภายนอกได้รับเสียหาย - รายงานผู้บังคับบัญชาตามลำดับ เจ้าหน้าที่ได้กระทำในการปฏิบัติหน้าที่ - ดำเนินการตามหมวด 1 โดยอนุโลม

  30. การดำเนินการกรณีผู้เสียหาย (บุคคลภายนอก)ยื่นคำขอให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน - ผู้รับคำขอ • หน่วยงานต้นสังกัดของเจ้าหน้าที่ • กระทรวงการคลัง(กรณีมิได้สังกัดหน่วยงานใด) - แต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด • กรณีต้องชดใช้ ให้ปฏิบัติตามที่ กค. กำหนด • กรณีไม่ต้องชดใช้ = ยังไม่ได้รับความเสียหาย

  31. การดำเนินการกรณีผู้เสียหาย (บุคคลภายนอก)ฟ้องคดีต่อศาล กรณีไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ -เรียก จนท.เข้ามาเป็นคู่ความ กรณีปฏิบัติหน้าที่ -อัยการแถลงศาลให้กัน จนท.ออกมา • ถ้าผลคดีทางราชการแพ้ -ไล่เบี้ย จนท. ตามเกณฑ์หมวด 1 (จงใจ-ร้ายแรง)

  32. ตารางแสดงขั้นตอนดำเนินการตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พ.ศ. ๒๕๓๙และระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่พ.ศ. ๒๕๓๙ กรณีเห็นว่าความเสียหายมิได้เกิดจากการกระทำของเจ้าหน้าที่ต้องรายงานผู้บังคับบัญชาเพื่อ พิจารณาว่าสมควรตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดหรือไม่(ข้อ๑๒) รายงาน หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ(แต่งตั้งคณะ กรรมการสอบข้อเท็จจริงเบื้องต้น) เกิดความเสียหาย ๑. กรณีเห็นว่าความเสียหายเกิดจากการกระทำของเจ้าหน้าที่ก็ให้ตั้ง คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด ไม่ได้ปฏิบัติหน้าที่ รับผิดตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ๒. คณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด รับผิดตามพ.ร.บ.ความรับผิดทางละเมิดฯ จงใจหรือประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง ปฏิบัติหน้าที่ ประมาทเลินเล่อ ไม่ต้องรับผิด มีผู้รับผิดหรือไม่ ๓. ผู้แต่งตั้งวินิจฉัยสั่งการ ส่งสำนวนการสอบสวนให้กระทรวงการคลังภายใน๗วันนับแต่วันวินิจฉัยสั่งการ จำนวนเท่าใด ส่วนราชการต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จก่อนอายุความ๒ปีสิ้นสุดลงไม่น้อยกว่า๖เดือน ๔. กระทรวงการคลัง คณะกรรมการพิจารณาความรับผิดทางแพ่ง ส่วนท้องถิ่นและรัฐวิสาหกิจต้องพิจารณาให้แล้วเสร็จก่อนอายุความ๒ปีสิ้นสุดลงไม่น้อยกว่า๑ปี หน่วยงานของรัฐมีคำสั่งตามความเห็นของกระทรวงการคลัง หน่วยงานของรัฐประเภทราชการส่วนท้องถิ่นรัฐวิสาหกิจมีคำสั่งตามที่เห็นว่าถูกต้อง กรณีปฏิบัติหน้าที่ออกคำสั่งทางปกครอง ๕. หน่วยงานของรัฐ ผู้ต้องรับผิด ผู้ต้องรับผิดไม่พอใจคำสั่ง ให้ฟ้องศาลปกครอง กรณีไม่ใช่ปฏิบัติหน้าที่ฟ้องคดีต่อศาล ภายในอายุความ๒ปี

  33. การพิจารณาวินิจฉัย เสียหายหรือไม่ แบ่งส่วนความรับผิดอย่างไร

  34. คำนวณราคากลางไม่ถูกต้องคำนวณราคากลางไม่ถูกต้อง

  35. การแบ่งส่วนความรับผิดการแบ่งส่วนความรับผิด ใช้ Factor F ผิดปี จ้างแพง 100,000 กก.กำหนดราคากลาง 70% 70,000 จนท.ฝ่ายพัสดุ ทำความเห็นเสนอผู้อนุมัติ 15% 15,000 ผู้อนุมัติ ให้ใช้ราคากลางทำสัญญา 15% 15,000

  36. การแบ่งส่วนความรับผิด (ต่อ) คำนวณราคา ต่อหน่วยเกินจริง จ้างแพง 100,000 กก.กำหนดราคากลาง 100% จนท.ฝ่ายพัสดุ ทำความเห็นเสนอผู้อนุมัติ - ผู้อนุมัติ ให้ใช้ราคากลางทำสัญญา -

  37. กก.ตรวจรับไม่ถูกต้อง ก่อสร้างถนน แบ่งส่วนความรับผิด กก.ตรวจรับ ผู้ควบคุมงาน ขรก. 30% (2 คนๆละ15%) 60%(2คนๆละ30%) ปชช.10% (2 คนๆละ5%)

  38. กก.ตรวจรับไม่ถูกต้อง ก่อสร้างถนน แบ่งส่วนความรับผิด กก.ภาคราชการ 100% 4 คนๆละส่วน กก.ประชาคม 2 คน 0% เรื่องเทคนิค

  39. หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0406.2/ว.66 ลงวันที่ 25 กันยายน 2550 เรื่อง แนวทางการกำหนดสัดส่วนความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่

  40. การจัดจ้าง/จัดซื้อ ราคาแพง วิธีการจัดซื้อ/จัดจ้าง ไม่ถูกต้อง กก.พิจารณาผล 60 % ฝ่ายพัสดุ 20 % ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น-กลาง/ผู้ผ่านงาน 10 %* ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง/ผู้อนุมัติ 10 %* *ถ้าไม่ผ่าน จนท.ฝ่ายพัสดุ เพิ่มเป็น 20% หรือ 40%

  41. กำหนดราคากลางสูงกว่าความเป็นจริงกำหนดราคากลางสูงกว่าความเป็นจริง ---ใช้ค่า Factor F /ราคาวัสดุ ไม่ถูกต้อง กก.กำหนดราคากลาง 70 % ฝ่ายพัสดุ 15 % ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น-กลาง/ผู้ผ่านงาน 10 %* ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง/ผู้อนุมัติ 5 %* *ถ้าไม่ผ่าน จนท.ฝ่ายพัสดุ เพิ่มเป็น 20%, 10% หรือ 30%

  42. กำหนดราคากลางสูงกว่าความเป็นจริงกำหนดราคากลางสูงกว่าความเป็นจริง ---คำนวณปริมาณงานผิดพลาด กก.กำหนดราคากลาง 100 % ฝ่ายพัสดุ - % ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น-กลาง/ผู้ผ่านงาน - % ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง/ผู้อนุมัติ - %

  43. ไม่คัดเลือกผู้เสนอราคาต่ำสุดที่มีคุณสมบัติถูกต้องตามเงื่อนไขที่กำหนดไม่คัดเลือกผู้เสนอราคาต่ำสุดที่มีคุณสมบัติถูกต้องตามเงื่อนไขที่กำหนด กก.เปิดซอง/พิจารณาผล 60 % ฝ่ายพัสดุ 15%* ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น-กลาง/ผู้ผ่านงาน 15%* ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง/ผู้อนุมัติ 10%* *ถ้า จนท.ฝ่ายพัสดุ/ผู้ผ่านงาน ทักท้วงแล้ว ผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจสั่งอนุมัติ ให้ผู้อนุมัติรับผิด 40% (ผู้ทักท้วงไม่ต้องรับผิด)

  44. การตรวจการจ้าง/ตรวจรับพัสดุ ไม่ถูกต้อง ---การก่อสร้างไม่เป็นไปตามแบบรูปรายการ กก.ตรวจการจ้าง 30 % ผู้ควบคุมงาน 50 % ฝ่ายพัสดุ -%* ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น-กลาง/ผู้ผ่านงาน 10%* ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง/ผู้อนุมัติ 10%* *ถ้า ผู้บังคับบัญชาไม่น่าจะรู้ว่าไม่เป็นไปตามแบบรูปรายการ ไม่ต้องรับผิด เปลี่ยนสัดส่วนเป็น 40/60 (กก.ตรวจการจ้าง/ผู้ควบคุมงาน)

  45. ---ส่งของไม่ตรงตามสัญญา---ส่งของไม่ตรงตามสัญญา กก.ตรวจรับ 60 % ฝ่ายพัสดุ 20%* ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น-กลาง/ผู้ผ่านงาน 10%* ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง/ผู้อนุมัติ 10%* *ถ้า จนท.ฝ่ายพัสดุ/ผู้บังคับบัญชาไม่น่าจะรู้ว่าการส่งของไม่ตรงตามสัญญา ไม่ต้องรับผิด เปลี่ยนสัดส่วนเป็น กก.ตรวจรับ 100%

  46. ไม่เรียกค่าปรับกรณีส่งมอบงาน/ของ ล่าช้า กก.ตรวจการจ้าง/ตรวจรับ 70 % ฝ่ายพัสดุ 10%* ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น-กลาง/ผู้ผ่านงาน 10%* ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง/ผู้อนุมัติ 10%* *ถ้า จนท.ฝ่ายพัสดุ/ผู้บังคับบัญชาไม่อาจทราบข้อเท็จจริงว่ามีการส่งมอบล่าช้า ไม่ต้องรับผิด เปลี่ยนสัดส่วนเป็น กก.ตรวจรับ 100%

  47. การใช้เงินผิดระเบียบ • ไม่นำเงินรายได้เข้าบัญชีที่เกี่ยวข้องแต่นำไปใช้โดยผิดระเบียบ (กรณีปฏิบัติผิดหลักการเงินการคลัง) • ฝ่ายการเงิน 20 % • ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น-กลาง/ผู้ผ่านงาน 30 % • ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง/ผู้อนุมัติ 50 %* *ถ้าผู้บังคับบัญชาใช้อำนาจสั่งการและเป็นผู้อนุมัติ ให้รับผิดเต็มจำนวน 100%

  48. การใช้เงินผิดระเบียบ • จ่ายเงินเกินสิทธิ / ไม่มีสิทธิ /ผิดระเบียบ* • ฝ่ายการเงิน 60 % • ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น-กลาง/ผู้ผ่านงาน 20 % • ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง/ผู้อนุมัติ 20 % *มีงบประมาณแล้ว แต่จ่ายผิดระเบียบหรือเกินสิทธิที่ควรได้รับ

  49. การทุจริตทางการเงินหรือทรัพย์สินการทุจริตทางการเงินหรือทรัพย์สิน • รับเงินแล้วไม่ออกใบเสร็จ/แก้ไข/ปลอม ใบเสร็จ ผู้ทุจริต คืนเงินที่เอาไปเต็มจำนวน 100 % ผู้เกี่ยวข้อง-: • ฝ่ายการเงิน 60 % • ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น-กลาง/ผู้ผ่านงาน 20 % • ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง/ผู้อนุมัติ 20 %

  50. การทุจริตทางการเงินหรือทรัพย์สินการทุจริตทางการเงินหรือทรัพย์สิน • ออกใบเสร็จแล้วไม่นำเงินส่ง ผู้ทุจริต คืนเงินที่เอาไปเต็มจำนวน 100 % ผู้เกี่ยวข้อง-: • กก.เก็บรักษาเงิน (ไม่ปฏิบัติหน้าที่) 60 % • ฝ่ายการเงิน 20 % • ผู้บังคับบัญชาชั้นต้น-กลาง/ผู้ผ่านงาน 10 % • ผู้บังคับบัญชาชั้นสูง/ผู้อนุมัติ 10 %

More Related