1 / 25

บทบาทของศูนย์ปฏิบัติการ

บทบาทของศูนย์ปฏิบัติการ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม และพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความ รุนแรงในครอบครัว. โดย... สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว. กรอบ การอภิปราย. 1. ยุทธศาสตร์ พม.กับการยุติความรุนแรง. 2. การขับเคลื่อนความร่วมมือคุ้มครองช่วยเหลือในระบบ OSCC. 4.

lucas
Télécharger la présentation

บทบาทของศูนย์ปฏิบัติการ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทบาทของศูนย์ปฏิบัติการบทบาทของศูนย์ปฏิบัติการ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม และพนักงานเจ้าหน้าที่ตาม พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว โดย... สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว

  2. กรอบการอภิปราย 1. ยุทธศาสตร์ พม.กับการยุติความรุนแรง 2. การขับเคลื่อนความร่วมมือคุ้มครองช่วยเหลือในระบบOSCC 4. สค.กับการสนับสนุนงานคุ้มครองช่วยเหลือ 3. บทบาท/แนวทางปฏิบัติงาน ศูนย์ ปฏิบัติการ + พนง.จนท. สห วิชาชีพ ชุมชน

  3. ยุทธศาสตร์ พม. กับการยุติความรุนแรง

  4. ยุทธศาสตร์ พม. กับการดำเนินการเพื่อยุติปัญหาความรุนแรงต่อเด็ก สตรี และครอบครัว พัฒนาสังคมเข้มแข็งพร้อมรับการเปลี่ยนแปลง เสริมสร้าง พลังทางสังคม ผลักดันให้เกิดสังคมสวัสดิการ กลยุทธ์ภาพรวม • ส่งเสริมสถาบัน คค. ชุมชน ประชาสังคม เป็นกลไกพัฒนาสังคมคุณภาพ • เสริมสร้างภูมิคุ้มกัน+ป้องกัน+แก้ไขปัญหา (คำนึงถึงโอกาส +เท่าเทียม) • พัฒนาระบบการจัดสวัสดิการสังคม • ยกระดับการบูรณาการให้บริการแบบ One Stop Service

  5. ปรับทัศนคติสังคม + ผู้ปฏิบัติงาน พม.หยุดยั้งปัญหาอย่างไร สร้างภูมิคุ้มกัน+ คุ้มครอง ช่วยเหลือ สร้างความเข้มแข็งครอบครัว เน้นส่วนร่วมชุมชน/ศพค.เครือข่าย สร้างความตระหนัก/ เข้าใจ เข้าถึงสิทธิ สนับสนุนการใช้กฎหมาย/กลไกรัฐ เป้าหมาย: “ผู้หญิง” กลับคืนสู่สังคม + Empowered สื่อไม่ซ้ำเติม ครอบครัว มีปัญหา ครอบครัว ไม่มีปัญหา ครอบครัว เสี่ยง

  6. พม. สค. สานงานสานพลังความร่วมมือสู่เป้าหมาย • เสริมสร้างศักยภาพ ครอบครัว กลไก+ บูรณาการมิติหญิงชายในประเด็นความรู้ • รณรงค์ยุติความรุนแรงในส่วนกลาง/ ภูมิภาค ภาคสื่อ • MOU ระดับต่าง ๆ + สนับสนุนการดำเนินงานของรัฐ/เอกชน อปท. ภาคปชช. เช่น ตำรวจ ศาล ศพค.ในรูปแบบต่าง ๆ • ปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย • พัฒนาระบบศูนย์ปฏิบัติการฯตามยุทธศาสตร์ ปท. ให้มีความเชื่อมโยงกับ ศพค. สร้างให้ตระหนัก/ เข้าใจ เข้าถึงสิทธิ สนับสนุนการใช้กฎหมาย/กลไกรัฐ เน้นส่วนร่วมชุมชน/ศพค.เครือข่าย สร้างความเข้มแข็งครอบครัว ปรับทัศนคติสังคม + ผู้ปฏิบัติงาน

  7. การขับเคลื่อนความร่วมมือในการคุ้มครองช่วยเหลือเด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ และบุคคลในครอบครัวจากความรุนแรง ในระบบ OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม กรณีคนไทยติดตามทุก 3 / 6 /12 เดือน ได้รับบริการในระบบ OSCC เพื่อคืนสู่สังคม

  8. เน้นการบูรณาการความร่วมมือเน้นการบูรณาการความร่วมมือ ศูนย์ปฏิบัติการฯ (พมจ. และ พส.) ครอบคลุม ครบวงจร สะดวก รวดเร็ว ทันการณ์ เท่าเทียม มีระบบติดตามผล FL. 1 และ FL. 2

  9. บทบาทของ หน่วยรับแจ้ง กับ OSCC กรณีความรุนแรงต่อเด็ก สตรี ครอบครัว หน่วยรับแจ้ง (FL1) ตรวจสอบ คัดกรอง วิเคราะห์ปัญหา ให้บริการเบื้องต้น รวมทั้งคำปรึกษา/ไกล่เกลี่ย/ ส่ง รพ. บันทึกข้อมูลกล่องความรุนแรงฯ ยุติได้เอง หรือส่งต่อ FL2 (บันทึกข้อมูลที่ให้บริการลงในระบบ) ข้อมูลถูกส่งไปที่ศูนย์ปฏิบัติการฯ (กทม. หรือ พมจ.)-FL2 เพื่อดำเนินการต่อ (ประสาน พนง.จนท.) หรือปิด case

  10. - สอบปากคำ - แจ้งสิทธิ - ดำเนินคดี - เยียวยาการเงิน ถูกกระทำโดยบุคคล ภายนอกครอบครัว ด้านกระบวนการ ยุติธรรม (สตช./ยธ.) ประสาน/ส่งต่อ บำบัดรักษา (ถูกข่มขืนให้ยาป้องกัน+เก็บหลักฐานใน72ชม.) ติดตาม รายงาน ด้านร่างกาย/เพศ (สธ.) จัดบริการ ให้บริการ (FL 2) ยุติการ ให้บริการ (ปิด case) ด้านจิตใจ (พม./สธ.) - ให้คำปรึกษา - ฟื้นฟูเยียวยาจิตใจ - จัดหาที่พักชั่วคราว - สังคมสงเคราะห์ - ดูแลด้านการศึกษา ถูกกระทำโดยบุคคล ภายในครอบครัว ด้านสังคม • (พม./ศธ.) ไม่ร้องทุกข์ (เข้าสู่กระบวนการ พ.ร.บ.) ไม่ร้องทุกข์

  11. บทบาทและแนวทางการปฏิบัติงานบทบาทและแนวทางการปฏิบัติงาน ศูนย์ปฏิบัติการฯ พนง.จนท. สหวิชาชีพ ตามกฎหมาย ในระบบงาน OSCC

  12. กลไกหลักของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ (ตามกฎกระทรวงฯ) 1. ศูนย์ปฏิบัติการเพื่อป้องกันการกระทำความรุนแรง ในครอบครัว กทม. ส่วนภูมิภาค กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัด 2. สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว

  13. ผังรวมบทบาทศูนย์ปฏิบัติการ (FL2)พนง.จนท. (พ.ร.บ.คุ้มครองผู้ถูกกระทำด้วย คร.ใน คค.)เชื่อมโยงกับ OSCC ประสานหน่วยงาน/ สหวิชาชีพ + อำนวยความ สะดวก พนง.จนท. ประสาน พนง.จนท. สอบข้อเท็จจริง+ ประเมิน+คุ้มครองเบื้องต้น วิเคราะห์ Case (คร.ใน คค.หรือไม่) ไกล่เกลี่ยเพื่อยุติคดี กรณี ร้องทุกข์ มาตรการแทนการลงโทษ แจ้งข้อเท็จจริง คุ้มครองชั่วคราว รับแจ้งเหตุ จาก FL1 รายงานตาม กม./ระบบ ติดตาม/ ประเมิน ปิด case

  14. พนักงานเจ้าหน้าที่ + ศูนย์ปฏิบัติการฯ สอบข้อเท็จจริง จัดให้ได้รับการรักษา/คำปรึกษาแนะนำ (ประสานแพทย์ จิตแพทย์ นักสังคม นักจิต) ประเมินสภาพ ปัญหา/ สภาพครอบครัว แจ้งสิทธิตามกฎหมาย คุ้มครองเบื้องต้น จัดให้มีการร้องทุกข์/ ไม่ร้องทุกข์ จัดให้ มีการคุ้มครองสวัสดิภาพ/ไกล่เกลี่ย สหวิชาชีพช่วยเหลือ

  15. กรณี ไม่ร้องทุกข์ 1. การคุ้มครองสวัสดิภาพ ตาม พ.ร.บ.ศาลเยาวชนฯ - ผู้เสียหาย ญาติ - พนง.เจ้าหน้าที่ พนง.สอบสวน พนง.อัยการ องค์การซึ่งมีหน้าที่ช่วยเหลือ ปชช.ทางกฎหมาย องค์กรคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กฯ หรือบุคคลอื่นใด ใคร ร้อง ขอได้ สห วิชาชีพ • ห้ามผู้กระทำเสพสุราหรือสิ่งมึนเมา • ห้ามเข้าใกล้ที่อยู่อาศัย ที่ทำงาน • เข้ารับการปรึกษาแนะนำจากศูนย์ให้ • คำปรึกษาแนะนำ (อบรม/บำบัดฟื้นฟู) ดำเนินกระบวนการ ออกคำสั่งคุ้มครอง สวัสดิภาพ เช่น 2. ไกล่เกลี่ย (ทำบันทึก ข้อตกลง) ประเมิน ความพร้อม/ กลับสู่ครอบครัว ช่วยเหลือ/ ให้คำ ปรึกษา ติดตาม ประเมิน รายงาน

  16. กรณี ร้องทุกข์ บทบาทศูนย์ปฏิบัติการฯ แจ้งข้อเท็จจริง สหวิชาชีพ หน่วยงาน คุ้มครองชั่วคราว (พนง.จนท./ศาล) ประสาน ประสานงานตามคำสั่ง/ บันทึกข้อตกลง มาตรการแทน การลงโทษ (ศาล) ติดตาม ติดตามทำตามคำสั่ง/ บันทึกข้อตกลง รายงานตาม กม./ระบบ ไกล่เกลี่ย (ปรับพฤติกรรม) (พนง.สอบสวน/ศาล) ศูนย์ฯ ติดตามเอง อปท./ชุมชน/หน่วยงาน

  17. บทบาทของเจ้าหน้าที่ตำรวจบทบาทของเจ้าหน้าที่ตำรวจ ตัวช่วย/ ตัวประสาน พนักงาน จนท. + ศูนย์ปฏิบัติการ คุ้มครอง+ระงับเหตุ/ประสานสอบข้อเท็จจริง รับแจ้งเหตุ บันทึก/รับร้องทุกข์ ได้ตัว-สอบสวน-ส่งฟ้อง 48 ชม. (แจ้งข้อกล่าวหา) รวบรวมหลักฐาน (เช่น ทางแพทย์) คุ้มครอง ไกล่เกลี่ย ติดตาม/ยุติหรือยกคดีใหม่ ทำบันทึกข้อตกลง

  18. บทบาทของโรงพยาบาล/ศูนย์พึ่งได้บทบาทของโรงพยาบาล/ศูนย์พึ่งได้ ตัวช่วย/ ตัวประสาน พนักงาน จนท. + ศูนย์ปฏิบัติการ ออกใบตรวจตามคำขอ ยาป้องกัน >72 ชม. กาย รับเรื่อง/รับแจ้งเหตุ แพทย์เฉพาะทาง ข่มขืน ท้องไม่พร้อม คุ้มครองเบื้องต้น (กาย จิต เพศ สังคม) เพศ ช่วยเหลือ ทางการแพทย์ ให้คำปรึกษา ทางเลือก ให้การปรึกษา ส่งปรึกษาสังคมสงเคราะห์ จิตใจ สังคม สนับสนุนใช้มาตรการคุ้มครอง/ยุติคดี ประสาน- ส่งต่อ/เยี่ยมบ้าน/ปิด case ประเมินความเสี่ยงถูกทำซ้ำ/ ประเมินความพร้อมคืนสู่สังคม

  19. บทบาทของเครือข่ายชุมชนบทบาทของเครือข่ายชุมชน เน้นบทบาทของกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้นำชุมชน ศพค. ส่วนใหญ่เหตุเกิดในหมู่บ้าน/ ชุมชน ป้องกัน/ เฝ้าระวัง/ รณรงค์/ข้อมูล ไกล่เกลี่ย/ ให้คำปรึกษา เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน/ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมากขึ้น เผยแพร่สิทธิ/ ช่องทาง ผ่านสื่อท้องถิ่น แจ้งเหตุ พนง.จนท./OSCC (ระวัง ม.9) ช่วยเหลือ กม. (ที่พำนัก/ติดตาม สอดส่อง)

  20. สรุปบทบาทสหวิชาชีพในการคุ้มครองผู้ถูกกระทำสรุปบทบาทสหวิชาชีพในการคุ้มครองผู้ถูกกระทำ ด้วยความรุนแรงในครอบครัว

  21. สค.กับการสนับสนุนงานคุ้มครองช่วยเหลือผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัวสค.กับการสนับสนุนงานคุ้มครองช่วยเหลือผู้ถูกกระทำด้วยความรุนแรงในครอบครัว

  22. บทบาทสำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวกับการทำงานในระบบ OSCC (ต่อ) 1. พัฒนาระบบงาน • เป็นต้นแบบ (Model) นำร่อง • ป้องกัน แก้ไขปัญหาความรุนแรงฯ เชื่อมโยงกับศูนย์ปฏิบัติการฯ และงาน OSCC เสริมพลัง ศพค. เป้า: ชุมชน Zero Violence เสริมสร้างศักยภาพ + เชื่อมโยงกับศูนย์ปฏิบัติการ/สหวิชาชีพ เวทีประชาคม 2 ครั้ง สำรวจข้อมูล คร.ในพื้นที่ คืนข้อมูล สู่พื้นที่ ขับเคลื่อนเครือข่าย/ case conference ทำแผน/ออกแบบโครงการ พัฒนาคู่มือพัฒนา ระบบงาน ถอดบทเรียน/ประเมินผล ทำกิจกรรมตามแผน

  23. วัตถุประสงค์ (เสริมพลัง ศพค.) 1. พัฒนาต้นแบบการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาความรุนแรงในครอบครัวของ ศพค. เชื่อมโยงศูนย์ปฏิบัติการ+OSCC 2. พัฒนาศักยภาพในการสำรวจข้อมูลความรุนแรงในครอบครัว และกลไกปฏิบัติงานการคุ้มครองช่วยเหลือในพื้นที่ 3. ขับเคลื่อนเครือข่ายในการป้องกันและแก้ไขปัญหาเชิงพื้นที่ 4. พัฒนาแนวทางการดำเนินงาน (จากการติดตามผล + ถอดบทเรียน) และขยายผลสู่พื้นที่อื่น ๆ

  24. บทบาทสำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัวกับการทำงานในระบบ OSCC (ต่อ) 2. สร้างกลไก/มาตรฐาน พนักงานเจ้าหน้าที่/ ผู้ประนีประนอม แนวทาง ปฏิบัติงาน 3. สนับสนุน องค์ความรู้/ศักยภาพ 4. สร้างเครือข่าย/ พันธมิตร (ภาครัฐ เอกชน ประชาสังคม ชุมชน สื่อ) 5. ระบบ ฐานข้อมูล ทิศทางการขับเคลื่อนงานต่อไป จัดทำยุทธศาสตร์ขับเคลื่อนประเด็นความรุนแรงฯ จัดทำองค์ความรู้/ข้อเสนอจากงานวิจัย

  25. ***ขอบคุณ***

More Related