1 / 26

ยุทธศาสตร์การพัฒนา กรมอนามัย พ.ศ.๒๕๕๖ - ๒๕๕๙

ยุทธศาสตร์การพัฒนา กรมอนามัย พ.ศ.๒๕๕๖ - ๒๕๕๙. กรมอนามัย ๒๘ สิงหาคม ๒๕๕๕. ปฏิญญาอุบลบุรี. เราจะร่วมผลักดันบทบาทของกรมอนามัย ในการอภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศ เราเห็นพ้องต้องกันต่อการขับเคลื่อน โดยยึดหลักสามด้าน คือ พัฒนาคน พัฒนางาน พัฒนาระบบ

lulu
Télécharger la présentation

ยุทธศาสตร์การพัฒนา กรมอนามัย พ.ศ.๒๕๕๖ - ๒๕๕๙

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยุทธศาสตร์การพัฒนากรมอนามัย พ.ศ.๒๕๕๖-๒๕๕๙ กรมอนามัย๒๘สิงหาคม๒๕๕๕

  2. ปฏิญญาอุบลบุรี • เราจะร่วมผลักดันบทบาทของกรมอนามัย ในการอภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศ • เราเห็นพ้องต้องกันต่อการขับเคลื่อน โดยยึดหลักสามด้าน คือ พัฒนาคน พัฒนางาน พัฒนาระบบ • เราจะให้ความสำคัญกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคีเครือข่ายในการพัฒนาการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ภายใต้แนวคิด • “ท้องถิ่นเข้มแข็งคนไทยแข็งแรง” • ๘ มิถุนายน ๒๕๕๕

  3. ความเป็นมา • กระทรวงสาธารณสุขมีจุดมุ่งหมายอภิบาลระบบสุขภาพ โดยกำหนดหน่วยงานเป็นเจ้าภาพระบบ ดังนี้ • ระบบส่งเสริมสุขภาพ • (และอนามัยสิ่งแวดล้อม) – กรมอนามัย • 2.ระบบป้องกันและควบคุมโรค - คร. • 3.ระบบบริการสุขภาพ - สป. • 4.ระบบการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ • - อย.

  4. การอภิบาลระบบสุขภาพ (Health System Governance) หมายถึง การใช้อำนาจร่วมกันของกลไกและหน่วยงานต่างๆ ในการกำกับทิศทางการตัดสินใจเพื่อบรรลุวัตถุประสงค์สิ่งใดสิ่งหนึ่ง (เช่น สุขภาวะของประชาชน) ดังนั้น กลไกอภิบาลระบบฯ จึงไม่ได้จำกัดที่กลไกภาครัฐเพียงอย่างเดียว แต่เป็นปฏิสัมพันธ์ของกลไกทั้งหมดในสังคม ซึ่งแต่ละกลไกมีพลังอำนาจในมิติที่แตกต่างกัน กระทรวงสาธารณสุข ซึ่งได้ก่อตั้งมาเกือบ ๗๐ ปี นับเป็นหนึ่งในกลไกสำคัญในการอภิบาลระบบสุขภาพ   ( Mind the gap สู่ความเป็นธรรมด้านสุขภาพ ฉบับที่ ๒ กันยายน ๒๕๕๔)

  5. องค์ประกอบการอภิบาลระบบสุขภาพ (Health System Governance) • การกำหนดนโยบาย รวมถึงการกำหนดบทบาทของภาครัฐ เอกชน และประชาสังคม • การสังเคราะห์ ใช้ความรู้และดูภาพรวม • การประสานงานและสร้างความร่วมมือ ตลอดจนสร้างระบบสนับสนุนนโยบายสาธารณะและความเชื่อมโยงระหว่าง ภาคส่วนต่างๆ • การกำกับดูแล ให้เกิดความเป็นธรรม • การออกแบบระบบ ให้สอดคล้องระหว่างยุทธศาสตร์และโครงสร้างต่างๆในระบบสุขภาพ รวมถึงลดความซ้ำซ้อนและความแตกแยกของระบบ • การมีความรับผิดชอบ โปร่งใส ตรวจสอบได้

  6. กรมอนามัย ๑. เป็นผู้อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพของประเทศ ทำหน้าที่ในการเชื่อมประสานภาคีเครือข่ายเพื่อให้เกิดความเป็นเอกภาพ ๒. เป็นองค์กรวิชาการด้านการส่งเสริมสุขภาพและการอนามัยสิ่งแวดล้อมที่สร้างองค์ความรู้และเทคโนโลยีที่สอดคล้องกับพฤติกรรมกลุ่มวัย ๓. พัฒนาสมรรถนะและสร้างความเข้มแข็งให้ภาคีเครือข่ายสามารถทำบทบาทหน้าที่ของตนในระบบส่งเสริมสุขภาพได้อย่างมีประสิทธิภาพ ระบบดี ภาคีแกร่ง แข็งวิชา องค์กรหลักของประเทศในการส่งเสริมสุขภาพ และอนามัยสิ่งแวดล้อมเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีสุขภาพดี DOH : The New Mission / Roles

  7. Research and Development Surveillances and Risk Communication Information Knowledge M & E M & E Financial System Partnership Support (HRM/Lab / Tech. /Etc.) Six Key Functions Plus Env.H & H.Pro Protection (Law,HIA Empowerment) Env.H & H.Pro Services Strategic Management QA Quality Assurance Env.H & H.Pro Management System

  8. ยุทธศาสตร์พัฒนากรมอนามัย พ.ศ. ๒๕๕๖ - ๒๕๕๙ “ระบบดี ภาคีแกร่ง แข็งวิชา” ยุทธศาสตร์พัฒนาระบบ (ภาคีเครือข่าย) ยุทธศาสตร์พัฒนางาน ประชาชนสุขภาพดี ภายใต้สิ่งแวดล้อมที่ดี ท้องถิ่นเข้มแข็ง คนไทยแข็งแรง เป็นองค์กรวิชาการที่ สร้างองค์ความรู้และเทคโนโลยี เป็นผู้อภิบาลระบบส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมของประเทศ ยุทธศาสตร์พัฒนาคน เก่ง ดี มีสุข พัฒนาสมรรถนะบุคลากรกรมอนามัย ให้สามารถทำบทบาทหน้าที่ของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ 8

  9. ยุทธศาสตร์พัฒนาภาคีเครือข่ายยุทธศาสตร์พัฒนาภาคีเครือข่าย กฎเกณฑ์ กฎระเบียบ กฎหมาย ยั่งยืน ความคาดหวัง พัฒนาภาคีเครือข่าย มีมาตรฐาน การประเมินรับรอง การวัดผล ทำได้ จัดบริการแบบบูรณาการ และตาม SOP S. M. E. Km SOP = Standard Operating Procedure ที่สอดคล้องกับ วิชาการ/มาตรฐาน/กฏ ระเบียบ ข้อบังคับ

  10. Policy Maker บุคคล + ชุมชน How to Meet New Mission & Roles Deal with Civic Society Deal with Policy Maker สื่อสารความเสี่ยง องค์ความรู้/เทคโนโลยี • ภาคี • ท้องถิ่น • ประชาสังคม • ภาครัฐ กรมอนามัย มาตรฐาน กฎเกณฑ์ พัฒนาศักยภาพ ดำเนินการตามเกณฑ์มาตรฐาน Deal With Provider สสอ. เฝ้าระวัง สร้างพลัง รวมพลัง กำกับ ตรวจสอบ สะท้อนปัญหา ความต้องการ

  11. แนวคิดการพัฒนาภาคี คนไทย แข็ง แรง ท้องถิ่น ประชาสังคม เข้มแข็ง สสอ. ดูแล กำกับ ตามกฏ ระเบียบ มาตรฐาน กรม อนามัย

  12. ยุทธศาสตร์พัฒนางาน WHA MDGs+ Rio +20 Climate Change Etc. Global Level Free Trade Area AEC, BIMST, CSEP Etc. International Level พัฒนางาน ความคาดหวัง National level แผนพัฒนาฯฉบับที่11 แผน NEHAP สถานะสุขภาพประเทศ Local level S. M. E. Km. ปัญหาและปัจจัยเสี่ยงในพื้นที่

  13. ยุทธศาสตร์พัฒนางาน การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์กรมอนามัย ประเด็น ยุทธศาสตร์ Strategic Issues งานตามบทบาทภารกิจ นโยบาย +

  14. แม่ตาย ลูกเป็นโรค พัฒนาการช้า ท้องก่อนวัย สังคมผู้สูงอายุ วัยทำงานอ้วน สถานการณ์สุขภาพ

  15. การจัดการของเสีย ไม่ถูกวิธี สิ้นเปลือง ปัญหา ทันตสุขภาพ ความเสี่ยงการบริโภคอาหารและน้ำในเขตเมือง ปัญหาความขัดแย้งระหว่างสิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ สถานการณ์สุขภาพ

  16. ข้อเสนอประเด็นยุทธศาสตร์ข้อเสนอประเด็นยุทธศาสตร์

  17. ประเด็นยุทธศาสตร์ ปี พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๙ แผนส่งเสริมสุขภาพแห่งชาติ • ๘๐ ปียังแจ๋ว ร้อยเรียง ทุกเรื่อง ทุกกลุ่มวัย ๘๐ ยังแจ๋ว ทุกกลุ่มวัยก็แจ๋ว สิ่งแวดล้อมก็แจ๋ว ร่วมกันขับเคลื่อน ก้าวไปสู่เป้าหมายร่วมกัน

  18. ประเด็นยุทธศาสตร์ (FOCUS) ปี พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๗ • ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๕ มีการประชุมนำเสนอประเด็นงานสำคัญของกรมอนามัย ที่ประชุมมีมติคัดเลือก ๔ ประเด็นยุทธศาสตร์(Focus)ที่จะให้ความสำคัญในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖-๒๕๕๗ • Why ? • ผลสัมฤทธิ์ยังไม่เป็นที่พึงพอใจ ยังมีช่องว่างในการพัฒนา • ส่งผลกระทบต่อประชาชนอย่างมาก • ผู้บริหารระดับสูงให้ความสำคัญ • มีกำหนดเวลาในการดำเนินการที่ชัดเจน

  19. ประเด็นยุทธศาสตร์ (FOCUS) ปี พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๗

  20. ส่งเสริมพัฒนาการเด็กไทยส่งเสริมพัฒนาการเด็กไทย 20

  21. วัยรุ่นไม่ท้อง

  22. ๘๐ ยังแจ๋ว

  23. คุ้มครองสิทธิสุขภาพชุมชน จากผลกระทบสิ่งแวดล้อม 23

  24. คุ้มครองสิทธิสุขภาพชุมชน จากผลกระทบสิ่งแวดล้อม 24

  25. ยุทธศาสตร์พัฒนาคน มีสุข คุณภาพชีวิต เศรษฐกิจพอเพียง ความคาดหวัง พัฒนาคนกรมอนามัย ดี จริยธรรม บำเพ็ญประโยชน์ เก่ง สู่สากล เก่งงาน เก่งคน เก่งวิชา S. M. E. Km.

More Related