1 / 45

แนวคิดและโครงสร้างระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ของสำนักงบประมาณ

แนวคิดและโครงสร้างระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ของสำนักงบประมาณ. โดย ผศ.ดร.วุฒิพงศ์ เมืองน้อย ผศ.ดร.สันติ เจริญพรพัฒนา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ. การบรรยาย 3 ฟอรั่ม วันพฤหัสบดีที่ 17 ธันวาคม 2552 เวลา 12.00 – 13.30 น. เนื้อหา.

macey-eaton
Télécharger la présentation

แนวคิดและโครงสร้างระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ของสำนักงบประมาณ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวคิดและโครงสร้างระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ของสำนักงบประมาณแนวคิดและโครงสร้างระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ของสำนักงบประมาณ โดย ผศ.ดร.วุฒิพงศ์ เมืองน้อย ผศ.ดร.สันติ เจริญพรพัฒนา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ. การบรรยาย 3 ฟอรั่ม วันพฤหัสบดีที่ 17 ธันวาคม 2552 เวลา 12.00 – 13.30 น.

  2. เนื้อหา • แนวคิดและภาพรวมโครงสร้างระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ • การวิเคราะห์ความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณ (Performance Assessment Rating Tool : PART) • คู่มือการวางและบริหารโครงการ

  3. บริบทการจัดสรรงบประมาณของระบบอุดมศึกษาในปัจจุบันบริบทการจัดสรรงบประมาณของระบบอุดมศึกษาในปัจจุบัน งบประมาณสนับสนุนการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา • กองทุนเงินกู้ยืมเพื่อการศึกษา • ให้เงินกู้ยืมต่อนักศึกษา • สำนักงบประมาณ • พิจารณาจัดสรรงบประมาณแผ่นดิน ให้เงินกู้ยืมต่อนักศึกษา • กกอ./สกอ. • จัดทำข้อเสนอนโยบายและมาตรฐานการอุดมศึกษาและแผนพัฒนาการอุดมศึกษา • ติดตาม ตรวจสอบประเมินผลการจัดการอุดมศึกษา -ประเมินระบบ PART -จัดสรรงบประมาณ ก.พ.ร. ประเมินผลการปฏิบัติราชการระดับองค์การ (มีการจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการและการประเมินผลประจำปีงบประมาณ) นโยบาย สถาบันอุดมศึกษา -ประกันคุณภาพภายใน -จัดสรรงบประมาณสนับสนุน -จัดตั้งกองทุนเพื่อการพัฒนา -ประเมินตามคำรับรอง -จัดสรรเงินรางวัลประจำปี ประเมินคุณภาพภายนอก สนับสนุนงบประมาณด้านการวิจัย หน่วยงานด้านการวิจัยอื่นๆ • สมศ. • พัฒนาเกณฑ์วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก • ประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาอย่างน้อย 1 ครั้งในทุก 5 ปี ปรับปรุงจาก: กพร. 2552

  4. แนวคิดและภาพรวมโครงสร้างระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์แนวคิดและภาพรวมโครงสร้างระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์

  5. ยุทธศาสตร์ จัดสรรงบประมาณอย่างไร ให้สามารถขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ได้ ควรมีผลผลิต/โครงการอะไรบ้างเพื่อรองรับยุทธศาสตร์ ต้องใช้ งบประมาณ เท่าใดในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ผลผลิต/ โครงการสามารถ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ หรือไม่ ผลผลิต/ โครงการ งบประมาณ มีความคุ้มค่างบประมาณหรือไม่ ควรจัดสรร งปม. ให้กับผลผลิต/โครงการใดบ้าง

  6. ความเชื่อมโยงองค์ประกอบสำคัญของความเชื่อมโยงองค์ประกอบสำคัญของ ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานทั้งระบบ (MTEF Top Down) งบยุทธศาสตร์ งบยุทธศาสตร์ 4# 4# 4# 3# 3# 3# 2# 2# 2# 1# 1# 1# งบยุทธศาสตร์ งบประจำ งบประจำ งบประจำ งบประจำ xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx 1# 1# 1# 1# 2# 2# 2# 2# 3# 3# 3# 3# 4# 4# 4# 4# 1# งบยุทธศาสตร์ รายได้ ประมาณการทางเศรษฐกิจ รายจ่าย PEM งบประมาณแผ่นดิน ทิศทางเชิงนโยบาย การวางแผนฯ ตามพรฎ. การวางแผนงบประมาณ MTEF ระดับชาติ ระดับชาติ ผลกระทบ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ระดับชาติ แผนพัฒนาประเทศด้านต่าง ๆ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติ ผลลัพธ์ ระดับกระทรวง (MTEF Bottom Up) นโยบายรัฐมนตรี แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี เป้าหมายการให้ บริการ 4 ปี (กระทรวง) ระดับกระทรวง แผนปฏิบัติราชการ 4 ปีหน่วยงาน เป้าหมายการให้ บริการ 4 ปี (หน่วยงาน) ระดับกรม/หน่วยงาน ระดับกรม ผลผลิต แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีหน่วยงาน เป้าหมายการให้ บริการ (หน่วยงาน) ประจำ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์หน่วยงาน ตัวชี้วัด QQTC ผลผลิต โครงการ ตัวชี้วัด QQTC กิจกรรมหลัก กิจกรรมรอง กิจกรรมสนับสนุน Actual ติดตามประเมินผล งบรายจ่ายอื่น ๆ Variable Budget งบอุดหนุน งบเงินลงทุน งบดำเนินการ Fixed Budget ดำเนินการ งบบุคลากร งบผลผลิตตามพันธกิจ งบโครงการตามยุทธศาสตร์ ที่มา: โครงการศึกษาแนวทางการปรับปรุงระบบงบประมาณ, สำนักงบประมาณ ความต้องการงบประมาณ อนุมัติงบประมาณ เบิกจ่าย/ดำเนินการ

  7. 7 ขั้นตอนที่ 1 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ส่วนราชการ ขั้นตอนที่ 2 การจัดทำแผนงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ ขั้นตอนที่ 3 การติดตามและประเมินผล กระบวนการพิจารณาพรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี ทำความเข้าใจนโยบายรัฐบาลและแผนการบริหารราชการแผ่นดิน ทำความเข้าใจยุทธศาสตร์การจัดสรร /แนวทางการจัดสรร ตรวจสอบสภาวะแวดล้อมและกลุ่มเป้าหมาย ทำความเข้าใจกรอบภารกิจตามกฎหมาย ทำความเข้าใจนโยบาย รมต. จัดทำแผนปฏิบัติงาน/แผนการใช้จ่ายงบประมาณ และเบิกจ่ายงบประมาณ จัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (กำหนดเป้าหมาย/ตัวชี้วัด) จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี (กำหนดเป้าหมาย/ตัวชี้วัด) ทบทวนผลการดำเนินงานที่ผ่านมา จัดทำความต้องการงบประมาณ 4 ปี กำหนดผลผลิต/กิจกรรม/ตัวชี้วัด จัดทำความต้องการงบประมาณประจำปี รายงานผลตามเป้าหมาย/ตัวชี้วัด(แผนปฏิบัติราชการประจำปี) กำหนดผลผลิต/ตัวชี้วัด บริหารและติดตามความก้าวหน้าผลผลิต/ วิเคราะห์ต้นทุนผลผลิตและจัดทำงบประมาณ ทบทวน/ตรวจสอบ/ ประเมินผลการดำเนินงานโครงการที่ผ่านมา ริเริ่มและวิเคราะห์โครงการเบื้องต้น วิเคราะห์และวางแผน รายละเอียดโครงการ จัดทำคำของบประมาณโครงการ บริหารและติดตามความก้าวหน้า ของการดำเนินโครงการ ประเมินผลการใช้งานและการติดตาม/ ปรับปรุง/ แก้ไข

  8. การวิเคราะห์ความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณ (Performance Assessment Rating Tool : PART)

  9. ความเป็นมาของเครื่องมือ PART และการบริหารโครงการ มติค.ร.ม.18 มีนาคม 2551: ให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ นำเครื่องมือการวิเคราะห์การจัดการงบประมาณตามมติคณะรัฐมนตรีมาพิจารณาประกอบการดำเนินงาน ดังนี้ • การวิเคราะห์ความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณ (Performance Assessment Rating Tool : PART) ตามหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนที่สุด ที่นร 0506/23450 ลงวันที่ 12 ธันวาคม 2550 • การวางแผนและบริหารโครงการ ตามหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนที่สุด ที่ นร 0506/4680 ลงวันที่ 29 มีนาคม 2550 • ...

  10. เครื่องมือ PART คืออะไร • PART คือ เครื่องมืองบประมาณในการวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้งบประมาณ (Performance Assessment Rating Tool)โดยแต่ละหน่วยงานจะเป็นผู้ประเมินตัวเอง (Self Assessment) ซึ่งสำนักงบประมาณจะทำหน้าที่เป็นผู้วิเคราะห์ระดับความสำเร็จ (Assessor) • PARTเป็นการวัดความสำเร็จโดยวัดความสำเร็จใน 5 มิติ ได้แก่ • มิติ ก. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ (Purpose and Design) • มิติ ข. การวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning) • มิติ ค. ความเชื่อมโยงงบประมาณ (Performance Budget Cascade) • มิติ ง. การบริหารจัดการ (Management) • มิติ จ. การประเมินผลในระดับผลผลิต/ผลลัพธ์ (Result)

  11. เครื่องมือวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณ (PART) มิติ ก. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ ตรวจสอบการกำหนดเป้าหมายขององค์กรว่า มีความสอดคล้องกับเป้าหมายระดับสูงอย่างถูกต้อง ตรงประเด็นหรือไม่ มิติ ข. การวางแผนกลยุทธ์ ตรวจสอบการแปลงเป้าหมายขององค์กรมาเป็นแผนกลยุทธ์ว่ามีความสอดคล้อง เหมาะสมและเป็นไปได้ในทางปฏิบัติหรือไม่ มิติ ค. ความเชื่อมโยงงบประมาณ ตรวจสอบการจัดสรรงบประมาณตามยุทธศาสตร์ในระดับต่าง ๆ ว่ามีความสัมพันธ์และเชื่อมโยงกันหรือไม่ มิติ ง. การบริหารจัดการ ตรวจสอบการนำแผนกลยุทธ์ที่กำหนดไปปฏิบัติงานจริงว่ามีการใช้แผนกลยุทธ์เป็นแนวทางการดำเนินงาน หรือไม่ มิติ จ. การประเมินผลในระดับผลผลิต/ผลลัพธ์ วัดความสำเร็จจากการดำเนินงานว่าเป็นไปตามเป้าหมายขององค์กรที่กำหนด หรือไม่ 11

  12. มิติ ก. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ ก-1 ความเข้าใจเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ เป้าหมายการให้บริการของกระทรวง และยุทธศาสตร์กระทรวง ที่หน่วยงานของท่านต้องรับผิดชอบดำเนินการให้บรรลุผลสำเร็จหรือไม่ อย่างไร ก-2 เป้าหมายการให้บริการของหน่วยงานที่ท่านกำหนดมีความสอดคล้องและเหมาะสมต่อการนำส่งเป้าหมายระดับสูงหรือไม่ อย่างไร ก-3 หน่วยงานของท่านกำหนดความต้องการ ปัญหาหรือเรื่องที่สนใจของกลุ่มเป้าหมายหรือไม่ อย่างไร ก-4 ผลผลิตที่กำหนดเป็นส่วนสำคัญที่ตอบสนองความต้องการ ปัญหาหรือเรื่องที่สนใจของกลุ่มเป้าหมาย และเป้าหมายระดับสูง หรือไม่ อย่างไร ก-5 การกำหนดผลผลิตของหน่วยงานมีการพิจารณาความซ้ำซ้อนของผลผลิตของหน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชนหรือไม่ กรณีที่หน่วยงานมีความซ้ำซ้อนกับผลผลิตของหน่วยงานอื่นสามารถจำแนกลักษณะผลผลิตที่แตกต่างกันได้หรือไม่ อย่างไร ก-6 หน่วยงานได้คำนึงถึงอุปสรรคและข้อจำกัด (อาทิ ด้านกฎหมาย ระเบียบ โครงสร้างส่วนราชการ และปัจจัยในกระบวนการปฏิบัติงาน) ที่มีต่อการนำส่งผลผลิตหรือไม่ อย่างไร 12

  13. มิติ ข. การวางแผนกลยุทธ์ ข-1 หน่วยงานจัดทำแผนกลยุทธ์ที่แสดงความเชื่อมโยงและถ่ายทอดภารกิจจากจุดมุ่งหมายของรัฐบาล (เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ชาติ) มายังผลลัพธ์ ผลผลิตและกิจกรรมตามลำดับหรือไม่ อย่างไร ข-2 แผนกลยุทธ์กำหนดเป้าหมายระดับผลผลิตระยะยาวหรือไม่ อย่างไร ข-3 แผนกลยุทธ์ของหน่วยงานกำหนดเป้าหมายระยะยาวที่ส่งผลต่อความสำเร็จของผลลัพธ์ (เป้าหมายการให้บริการของกระทรวง) ที่ท้าทาย (มีประสิทธิภาพสูงขึ้น) หรือไม่ อย่างไร ข-4 แผนกลยุทธ์ของหน่วยงานจำแนกเป้าหมายผลผลิตเป็นรายปี หรือไม่ อย่างไร ข-5 แผนกลยุทธ์ของหน่วยงานได้กำหนดวิธีการประสานความร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐและภาคเอกชน หรือไม่ อย่างไร ข-6 แผนกลยุทธ์ของหน่วยงานกำหนดให้มีแผนการประเมินผลการปฏิบัติงาน ที่มีคุณภาพด้านขอบเขตของเนื้อหาที่จำเป็นเพื่อการปรับปรุงอย่างสม่ำเสมอ โดยประเมินตนเอง และโดยผู้ประเมินอิสระ หรือไม่ อย่างไร ข-7 หน่วยงานกำหนดให้มีกระบวนการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงด้านยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์กระทรวง และ/หรือ ข้อกฎหมายและระเบียบปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมาทบทวนกลยุทธ์ของหน่วยงาน หรือไม่ อย่างไร 13

  14. มิติ ค. ความเชื่อมโยงงบประมาณ ค-1 หน่วยงานกำหนดเป้าหมายผลผลิตประจำปี ซึ่งแสดงให้เห็นความก้าวหน้าในการบรรลุเป้าหมายผลผลิตตามแผนงบประมาณในแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี หรือไม่ อย่างไร ค-2 หน่วยงานกำหนดกิจกรรมหลักที่มีความเชื่อมโยงกับทรัพยากรที่ต้องการ ซึ่งสนับสนุนให้บรรลุเป้าหมายผลผลิตประจำปี หรือไม่ อย่างไร ค-3 หน่วยงานกำหนดตัวชี้วัดความก้าวหน้า ตามระยะเวลาที่กำหนดทุกกิจกรรมหลัก หรือไม่ อย่างไร ค-4 หน่วยงานกำหนดให้มีกิจกรรมเพื่อคำนวณต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต หรือไม่ อย่างไร ค-5 หน่วยงานมีการพิจารณาผลการปฏิบัติงานที่ผ่านมา เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดเป้าหมายผลผลิตประจำปี หรือไม่ อย่างไร 14

  15. มิติ ง. การบริหารจัดการ ง-1 หน่วยปฏิบัตินำส่งผลผลิตของหน่วยงานมีการจัดทำและบริหารแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปีซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนและระยะเวลา ให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดของแต่ละผลผลิต หรือไม่ อย่างไร ง-2 หน่วยปฏิบัตินำส่งผลผลิตของหน่วยงานมีการจัดทำระบบรายงานข้อมูลย้อนกลับของแต่ละผลผลิต ที่เชื่อถือได้ และตรงตามกำหนดเวลา หรือไม่ อย่างไร ง-3 หน่วยปฏิบัตินำส่งผลผลิตของหน่วยงานมีการนำข้อมูลดังกล่าวมาใช้ในการบริหารจัดการ และปรับปรุงการดำเนินงานให้ดีขึ้น หรือไม่ อย่างไร ง-4 หน่วยปฏิบัตินำส่งผลผลิตของหน่วยงานมีการนำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ไปใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการ หรือไม่ อย่างไร ง-5 หน่วยปฏิบัตินำส่งผลผลิตของหน่วยงานมีกระบวนการจัดการที่ช่วยวัดผลการดำเนินงาน และ/หรือ ปรับปรุงการดำเนินงาน ให้มีประสิทธิภาพและความคุ้มค่าหรือไม่ อย่างไร ง-6 หน่วยปฏิบัตินำส่งผลผลิตของหน่วยงานมีรายงานผลการตรวจสอบทางการเงิน ที่แสดงถึงประสิทธิภาพการจัดการทางการเงิน และเป็นไปตามกฎข้อบังคับที่เกี่ยวข้อง หรือไม่ อย่างไร ง-7 หน่วยปฏิบัตินำส่งผลผลิตของหน่วยงานมีการประเมินบุคคลผู้รับผิดชอบผลผลิตในการนำส่งผลผลิตว่ามีประสิทธิภาพ หรือไม่ อย่างไร 15

  16. มิติ จ. การประเมินผลในระดับผลผลิต/ผลลัพธ์ จ-1 โปรดแสดงความก้าวหน้าโดยการเปรียบเทียบผลลัพธ์ที่ได้ กับเป้าหมายผลลัพธ์ระยะยาวตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ จ-2 โปรดแสดงความก้าวหน้าโดยการเปรียบเทียบผลผลิตที่ได้ กับเป้าหมายผลผลิตประจำปีตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ จ-3 ผลการดำเนินงานของหน่วยงานมีประสิทธิภาพสูงขึ้น และมีความคุ้มค่าเชิงเศรษฐกิจและ/หรือสังคม หรือไม่ อย่างไร จ-4 หน่วยงานมีการเปรียบเทียบผลผลิตและเป้าหมายผลผลิตกับส่วนราชการฯ และหน่วยงานเอกชนอื่นที่มีลักษณะเหมือน/คล้ายคลึงกัน หรือไม่ อย่างไร จ-5 ผลการประเมินจากผู้ประเมินอิสระ แสดงให้เห็นว่าหน่วยงานบรรลุผลสำเร็จในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ หรือไม่ อย่างไร 16

  17. 17 ขั้นตอนที่ 1 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ส่วนราชการ ขั้นตอนที่ 2 การจัดทำแผนงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ ขั้นตอนที่ 3 การติดตามและประเมินผล กระบวนการพิจารณาพรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี ทำความเข้าใจนโยบายรัฐบาลและแผนการบริหารราชการแผ่นดิน ทำความเข้าใจยุทธศาสตร์การจัดสรร /แนวทางการจัดสรร มิติ ค. ความเชื่อมโยงงบประมาณ (Performance Budget Cascade) มิติ ก. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ (Purpose and Design) ตรวจสอบสภาวะแวดล้อมและกลุ่มเป้าหมาย ทำความเข้าใจกรอบภารกิจตามกฎหมาย ทำความเข้าใจนโยบาย รมต. มิติ ง. การบริหารจัดการ (Management) มิติ จ. การประเมินผลในระดับผลผลิต/ผลลัพธ์ (Result) จัดทำแผนปฏิบัติงาน/แผนการใช้จ่ายงบประมาณ และเบิกจ่ายงบประมาณ จัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (กำหนดเป้าหมาย/ตัวชี้วัด) จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี (กำหนดเป้าหมาย/ตัวชี้วัด) มิติ ข. การวางแผนกลยุทธ์ (Strategic Planning) ทบทวนผลการดำเนินงานที่ผ่านมา จัดทำความต้องการงบประมาณ 4 ปี กำหนดผลผลิต/กิจกรรม/ตัวชี้วัด จัดทำความต้องการงบประมาณประจำปี รายงานผลตามเป้าหมาย/ตัวชี้วัด(แผนปฏิบัติราชการประจำปี) กำหนดผลผลิต/ตัวชี้วัด บริหารและติดตามความก้าวหน้าผลผลิต/ วิเคราะห์ต้นทุนผลผลิตและจัดทำงบประมาณ ทบทวน/ตรวจสอบ/ ประเมินผลการดำเนินงานโครงการที่ผ่านมา ริเริ่มและวิเคราะห์โครงการเบื้องต้น วิเคราะห์และวางแผน รายละเอียดโครงการ จัดทำคำของบประมาณโครงการ บริหารและติดตามความก้าวหน้า ของการดำเนินโครงการ ประเมินผลการใช้งานและการติดตาม/ ปรับปรุง/ แก้ไข

  18. 18 ขั้นตอนที่ 1 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ส่วนราชการ ขั้นตอนที่ 2 การจัดทำแผนงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ ขั้นตอนที่ 3 การติดตามและประเมินผล กระบวนการพิจารณาพรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี ทำความเข้าใจนโยบายรัฐบาลและแผนการบริหารราชการแผ่นดิน ทำความเข้าใจยุทธศาสตร์การจัดสรร /แนวทางการจัดสรร ก1 ก3 ตรวจสอบสภาวะแวดล้อมและกลุ่มเป้าหมาย ทำความเข้าใจกรอบภารกิจตามกฎหมาย ทำความเข้าใจนโยบาย รมต. ก6 ก4 จัดทำแผนปฏิบัติงาน/แผนการใช้จ่ายงบประมาณ และเบิกจ่ายงบประมาณ ก2 จัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (กำหนดเป้าหมาย/ตัวชี้วัด) จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี (กำหนดเป้าหมาย/ตัวชี้วัด) จ4 จ5 ข1 ข5 ข6 ข7 จ1 จ2 จ3 ค1 ทบทวนผลการดำเนินงานที่ผ่านมา จัดทำความต้องการงบประมาณ 4 ปี กำหนดผลผลิต/กิจกรรม/ตัวชี้วัด จัดทำความต้องการงบประมาณประจำปี รายงานผลตามเป้าหมาย/ตัวชี้วัด(แผนปฏิบัติราชการประจำปี) ค2 ก5 ข2 ข3 ค3 กำหนดผลผลิต/ตัวชี้วัด บริหารและติดตามความก้าวหน้าผลผลิต/ วิเคราะห์ต้นทุนผลผลิตและจัดทำงบประมาณ ข4 ค4 ค5 ง1 ง2 ง5 ง7 ง3 ง4 ง6 ทบทวน/ตรวจสอบ/ ประเมินผลการดำเนินงานโครงการที่ผ่านมา ริเริ่มและวิเคราะห์โครงการเบื้องต้น วิเคราะห์และวางแผน รายละเอียดโครงการ จัดทำคำของบประมาณโครงการ บริหารและติดตามความก้าวหน้า ของการดำเนินโครงการ ประเมินผลการใช้งานและการติดตาม/ ปรับปรุง/ แก้ไข

  19. คู่มือการวางแผนและบริหารโครงการคู่มือการวางแผนและบริหารโครงการ สำหรับส่วนราชการ (Project management manual for Government Agency)

  20. ความเป็นมาของเครื่องมือ PART และการบริหารโครงการ มติค.ร.ม.18 มีนาคม 2551: ให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ และหน่วยงานอื่นของรัฐ นำเครื่องมือการวิเคราะห์การจัดการงบประมาณตามมติคณะรัฐมนตรีมาพิจารณาประกอบการดำเนินงาน ดังนี้ • การวิเคราะห์ความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้จ่ายงบประมาณ (Performance Assessment Rating Tool : PART) ตามหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนที่สุด ที่นร 0506/23450 ลงวันที่ 12 ธันวาคม 2550 • การวางแผนและบริหารโครงการ ตามหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ด่วนที่สุด ที่ นร 0506/4680 ลงวันที่ 29 มีนาคม 2550 • ...

  21. โครงสร้างหลักของการวางแผนและบริหารโครงการโครงสร้างหลักของการวางแผนและบริหารโครงการ • ทบทวน/ตรวจสอบสถานภาพของโครงการ • ทบทวน/ตรวจสอบผลผลิต/ ผลลัพธ์/ ผลกระทบที่เกิดขึ้น 1. ทบทวน/ตรวจสอบ/ ประเมินผล การดำเนินงานโครงการที่ผ่านมา • พิจารณาที่มาโครงการกลุ่มเป้าหมายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย • วิเคราะห์ความสอดคล้องเชิงยุทธศาสตร์ และความเหมาะสมเชิงเศรษฐกิจและสังคม • พิจารณาศักยภาพและความพร้อมของในการโครงการ 2. ริเริ่มโครงการใหม่ และการวิเคราะห์เบื้องต้น • พิจารณาขอบเขตและวัตถุประสงค์ของโครงการ • วิเคราะห์ผลผลิต/ผลลัพธ์/และหรือผลกระทบ • วิเคราะห์กระบวนการนำส่งผลผลิต และทรัพยากรที่ต้องใช้ในการดำเนินโครงการ • วิเคราะห์ความคุ้มค่าและผลประโยชน์ของโครงการ 3. วิเคราะห์และวางแผน รายละเอียดโครงการ • จัดลำดับความสำคัญของโครงการ • วิเคราะห์ต้นทุนและทบทวน/เปรียบเทียบกับโครงการอื่น • ประเมินความคุ้มค่า ผลประโยชน์ ผลกระทบที่จะได้รับ 4. การวิเคราะห์ และจัดสรรงบประมาณ • พิจารณาความคืบหน้าตามแผนปฏิบัติการและแผนงบประมาณ • ทบทวน/การปรับเปลี่ยนแผน (งาน งบประมาณ และระยะเวลา) • สรุปปัญหา อุปสรรค วิธีการแก้ไข และบทเรียน จากการดำเนินโครงการ 5. ติดตามความก้าวหน้า ของการดำเนินโครงการ • ประเมินผลผลิตและกระบวนการบริหารจัดการผลผลิต • ประเมินผลลัพธ์และติดตามผลกระทบที่เกิดขึ้น • สรุปปัญหาที่เกิดขึ้นจากการใช้งาน แนวทางการแก้ไข และบทเรียนจากการใช้ประโยชน์โครงการ 6. ประเมินผลการใช้งาน และการติดตาม/ ปรับปรุง/ แก้ไข ที่มา: คู่มือการวางแผนและบริหารโครงการ สำนักงบประมาณ

  22. กระบวนการปฏิบัติงาน “การวิเคราะห์โครงการ” ครม. /ครม.พิจารณาและขอความคิดเห็น สงป. ครม.ให้ความเห็นชอบในหลักการ ครม.พิจารณา คณก.ฯ คณก.พิเศษฯ พิจารณาและเสนอ ครม. คณก.พิเศษฯ แจ้งส่วนราชการดำเนินโครงการ ส่วนราชการ ส่วนราชการริเริ่ม ขออนุมัติหลักการ โครงการพิเศษ/ขนาดใหญ่ ส่วนราชการจัดทำโครงการพิเศษ/ขนาดใหญ่และงบประมาณ โครงการพิเศษ/ขนาดใหญ่ ส่วนราชการจัดทำโครงการและงบประมาณ โครงการลงทุนปกติ สำนักงบประมาณ 1. สงป.ติดตามและประเมินผลโครงการ/ โครงการพิเศษฯ 2. สงป.พิจารณาและจัดทำข้อคิดเห็นโครงการลงทุนพิเศษเสนอ ครม. 3. สงป.วิเคราะห์ความต้องการงบประมาณโครงการของส่วนราชการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

  23. 24 ขั้นตอนที่ 1 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ส่วนราชการ ขั้นตอนที่ 2 การจัดทำแผนงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ ขั้นตอนที่ 3 การติดตามและประเมินผล กระบวนการพิจารณาพรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี ทำความเข้าใจนโยบายรัฐบาลและแผนการบริหารราชการแผ่นดิน ทำความเข้าใจยุทธศาสตร์การจัดสรร /แนวทางการจัดสรร ตรวจสอบสภาวะแวดล้อมและกลุ่มเป้าหมาย ทำความเข้าใจกรอบภารกิจตามกฎหมาย ทำความเข้าใจนโยบาย รมต. จัดทำแผนปฏิบัติงาน/แผนการใช้จ่ายงบประมาณ และเบิกจ่ายงบประมาณ จัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (กำหนดเป้าหมาย/ตัวชี้วัด) จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี (กำหนดเป้าหมาย/ตัวชี้วัด) ทบทวนผลการดำเนินงานที่ผ่านมา จัดทำความต้องการงบประมาณ 4 ปี กำหนดผลผลิต/กิจกรรม/ตัวชี้วัด จัดทำความต้องการงบประมาณประจำปี รายงานผลตามเป้าหมาย/ตัวชี้วัด(แผนปฏิบัติราชการประจำปี) กำหนดผลผลิต/ตัวชี้วัด บริหารและติดตามความก้าวหน้าผลผลิต/ วิเคราะห์ต้นทุนผลผลิตและจัดทำงบประมาณ ทบทวน/ตรวจสอบ/ ประเมินผลการดำเนินงานโครงการที่ผ่านมา ริเริ่มและวิเคราะห์โครงการเบื้องต้น วิเคราะห์และวางแผน รายละเอียดโครงการ จัดทำคำของบประมาณโครงการ บริหารและติดตามความก้าวหน้า ของการดำเนินโครงการ ประเมินผลการใช้งานและการติดตาม/ ปรับปรุง/ แก้ไข

  24. แนวคิดและโครงสร้างระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ของสำนักงบประมาณแนวคิดและโครงสร้างระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ของสำนักงบประมาณ โดย ผศ.ดร.วุฒิพงศ์ เมืองน้อย ผศ.ดร.สันติ เจริญพรพัฒนา ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มจธ. การบรรยาย 3 ฟอรั่ม วันพฤหัสบดีที่ 17 ธันวาคม 2552 เวลา 12.00 – 13.30 น.

  25. ปัญหาที่พบในระบบงบประมาณปัญหาที่พบในระบบงบประมาณ

  26. 27 ปัญหาภาพรวมระบบงบประมาณ ด้านระบบ • ความคุ้นเคยกับระบบงบประมาณแบบเดิม (line item) ดังนั้น กระบวนการ/ขั้นตอน/เครื่องมือใหม่ๆของระบบงบประมาณ ก็ใช้เป็นเพียงกลไกเสริมไม่ใช่กลไกหลัก ทำให้ไม่สามารถจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ได้ • ขาดแผนและการปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติงาน เพื่อรองรับระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ • ระบบการให้ความช่วยเหลือทั้งภายในส่วนราชการและจากสำนักงบประมาณยังไม่สมบูรณ์ทำให้หน่วยงานต่างๆ เมื่อได้รับเอกสาร/คู่มือที่เกี่ยวข้องกับวิธีการงบประมาณ และขาดความเข้าใจ ไม่สามารถปรึกษาใครได้ ทำให้ทำงานแบบเดิม ๆ โดยให้สำนักงบประมาณเป็นผู้ตัดสินใจ • ข้อมูลประกอบการจัดการงบประมาณ (วางแผน จัดทำ ติดตามและประเมินผล) กระจัดกระจายอยู่ตามแหล่งต่างๆ ทำให้ยากต่อการใช้งาน เช่น MTEF top-down อยู่กับฝ่ายแผน ส่วน bottom-up จะอยู่กับกองคลังของส่วนราชการ ที่มา: โครงการศึกษาแนวทางการปรับปรุงระบบงบประมาณ, สำนักงบประมาณ

  27. 28 ปัญหาภาพรวมระบบงบประมาณ ด้านบุคลากร • ผู้บริหารระดับนโยบาย มุ่งหวังผลักดันสิ่งที่ตนประสงค์ให้บรรลุผลสำเร็จ ขาดการวิเคราะห์ความเหมาะสมตามกระบวนการจัดทำงบประมาณรายจ่าย ทำให้ไม่ให้ความสำคัญต่อข้อมูลและวิธีการงบประมาณแบบใหม่ ดังนั้น ผู้รับผิดชอบระดับปฏิบัติการของส่วนราชการ จึงไม่สามารถแปลงยุทธศาสตร์สู่ผลผลิต/โครงการได้ • ผู้ปฏิบัติให้ความสำคัญกับการได้งบประมาณเพื่อปฏิบัติตามภารกิจและกิจกรรม แต่ไม่ค่อยให้ความสำคัญกับการติดตามและประเมินผลการทำงาน ทำให้การติดตามการทำงานเน้นไปที่ความรวดเร็วในการเบิกจ่ายงบประมาณ และความสำเร็จของกิจกรรม ขาดการติดตามและประเมินผลผลิตและผลลัพธ์ ที่จะปรับปรุงการทำงานให้ดีขึ้น อันเป็นหัวใจสำคัญของระบบงบประมาณใหม่ • ระดับการประสานความรู้ความเข้าใจ ระหว่างบุคลากรของสำนักงบประมาณและส่วนราชการ มีความสำคัญอย่างยิ่ง ในการสื่อสารสร้างความเข้าใจและให้คำแนะนำเชิงระบบ • ผู้ปฏิบัติส่วนใหญ่ใช้ภารกิจประจำและงบประมาณ เป็นตัวตั้งในการเริ่มคิดเพื่อวางแผนและจัดทำงบประมาณ มากกว่าการแปลงเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด สู่ผลผลิต/โครงการและกิจกรรม ที่มา: โครงการศึกษาแนวทางการปรับปรุงระบบงบประมาณ, สำนักงบประมาณ

  28. 29 ปัญหาภาพรวมระบบงบประมาณ ด้านการบริหารจัดการ • การจัดการงบประมาณ (วางแผน จัดทำ ติดตามและประเมินผล) ยังคงเป็นแบบต่างคนต่างทำ ทำให้ไม่สามารถแปลงเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด สู่ผลผลิต/โครงการและกิจกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ • ผู้บริหารระดับสูง ไม่ได้ให้ความสำคัญกับการปรับปรุงระบบงบประมาณ ปล่อยให้เป็นหน้าที่ของภารกิจประจำ • ราชการส่วนภูมิภาคยังคงจัดการงบประมาณแบบเดิม เพราะขาดความรู้และทักษะในการจัดการงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ • ขาดการบูรณาการข้อมูลระหว่างราชการส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ส่งผลให้ขาดข้อมูลประกอบการจัดทำคำขอและวิเคราะห์งบประมาณที่มีประสิทธิภาพ ที่มา: โครงการศึกษาแนวทางการปรับปรุงระบบงบประมาณ, สำนักงบประมาณ

  29. 30 ประเด็นปัญหาสำคัญของเครื่องมืองบประมาณ ก. ความเชื่อมโยงระหว่างยุทธศาสตร์ เป้าหมาย กลยุทธ์และผลผลิตกับงบประมาณ • ตัวชี้วัดความสำเร็จในระดับต่างๆ ไม่สะท้อน/สื่อถึงความสำเร็จตามเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ อย่างแท้จริง โดยทั่วไปจะใช้ตัวชี้วัดตามวิธีการเดิมๆ ที่ตนคุ้นเคย ที่ง่ายต่อการบรรลุผลสำเร็จ แต่ไม่สามารถบรรลุเป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ได้ • การจัดสรรงบประมาณประจำปี สามารถระบุได้เพียงปริมาณเงินในแต่ละยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ แต่ยังขาดความเชื่อมโยงระหว่างงบประมาณกับเป้าหมายและตัวชี้วัดความสำเร็จ • ขาดระบบติดตามและประเมินผลความสำเร็จ ตามเป้าหมาย/ยุทธศาสตร์และตัวชี้วัด ทำให้ขาดข้อมูล เพื่อใช้ในการปรับเปลี่ยนยุทธศาสตร์/กลยุทธ์ ทำให้ยากต่อการ redeploy การวางแผนฯ ตามพรฎ. การวางแผนงบประมาณ ผลกระทบ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติ ผลลัพธ์ แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี เป้าหมายการให้ บริการ 4 ปี (กระทรวง) แผนปฏิบัติราชการ 4 ปีหน่วยงาน เป้าหมายการให้ บริการ 4 ปี (หน่วยงาน) ผลผลิต แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีหน่วยงาน เป้าหมายการให้ บริการ (หน่วยงาน) ประจำ ยุทธศาสตร์ ผลผลิต กลยุทธ์หน่วยงาน ตัวชี้วัด QQTC ที่มา: โครงการศึกษาแนวทางการปรับปรุงระบบงบประมาณ, สำนักงบประมาณ

  30. 31 ประเด็นปัญหาสำคัญของเครื่องมืองบประมาณ ข. โครงสร้างผลผลิต (Output Structure) • ขนาดของผลผลิตมีความแตกต่างกัน ทำให้เกิดความไม่สอดคล้องกับขนาดของงบประมาณ บางหน่วยงานจะกำหนดผลผลิตให้มีขนาดใหญ่ (มีทั้งเนื้องานเหมือนกันและต่างกัน) เพื่อความสะดวกในการโอนงบประมาณภายในผลผลิต บางหน่วยงานจะกำหนดผลผลิตให้มีขนาดเล็ก ระดับสำนัก/กอง เพื่อความสะดวกในการจัดทำงบประมาณ • ผลผลิตได้รับการทบทวน เพื่อประโยชน์ในการใช้จ่ายงบประมาณ มากกว่าการบรรลุผลสำเร็จตามนโยบาย/พันธกิจของกระทรวง • ส่วนราชการให้ความสำคัญกับการกำหนดตัวชี้วัดผลผลิตน้อยโดยส่วนใหญ่จะให้ความสำคัญกับตัวชี้วัดระดับกิจกรรม เพราะมี ก.พ.ร. เข้ามากำกับดูแลอย่างใกล้ชิดและผูกกับ Bonus ของส่วนราชการ ที่มา: โครงการศึกษาแนวทางการปรับปรุงระบบงบประมาณ, สำนักงบประมาณ

  31. 32 ประเด็นปัญหาสำคัญของเครื่องมืองบประมาณ ตัวชี้วัด QQTC ค. ต้นทุนผลผลิต (Output Costing) • ขาดการแยกกิจกรรมหลัก กิจกรรมรองและกิจกรรมสนับสนุน เพราะบุคลากรและครุภัณฑ์ถูกนำไปใช้ในหลายกิจกรรม ทำให้ยากต่อการบันทึกค่าใช้จ่าย • ระบบบัญชีของส่วนราชการและกองคลัง ไม่เป็นระบบบัญชีแบบแยกกิจกรรม ทำให้การบันทึกและจัดทำต้นทุนผลผลิตเป็นไปได้ยาก ผลผลิต กิจกรรมหลัก กิจกรรมรอง กิจกรรมสนับสนุน งบรายจ่ายอื่น ๆ Variable Budget งบอุดหนุน งบเงินลงทุน งบดำเนินการ Fixed Budget งบบุคลากร งบผลผลิต • ส่วนราชการมักจะรักษาฐานกิจกรรม/งบประมาณเดิม ทำให้ยากต่อการปรับปรุงกระบวนการนำส่งผลผลิต และจัดทำเป้าหมายต้นทุนผลผลิต (cost targeting) ที่มา: โครงการศึกษาแนวทางการปรับปรุงระบบงบประมาณ, สำนักงบประมาณ

  32. 33 ประเด็นปัญหาสำคัญของเครื่องมืองบประมาณ ง. การวางแผนและบริการโครงการ (Project Management) • การใช้วิธีการดำเนินงานแบบงานประจำในการออกแบบและดำเนินโครงการ ทำให้ไม่เห็นความสำคัญของการทบทวนโครงการ รวมทั้งขาดแนวคิดที่จะสร้าง/นวัตกรรมวิธีการทำงานใหม่ๆ เพื่อตอบสนองต่อความต้องการของโครงการ • การเขียนโครงการขาดการระดมข้อมูลและความคิดจากผู้ปฏิบัติ ทำให้เป้าหมายการบริหารและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของโครงการไม่ชัดเจน • สำหรับงานส่วนใหญ่ส่วนราชการจะจ้างที่ปรึกษามาจัดทำข้อมูลและวิเคราะห์ความคุ้มค่าโครงการ เพื่อผลักดันโครงการมากกว่าการทำให้โครงการเกิดประโยชน์และความคุ้มค่า • โครงการส่วนใหญ่ ถูกจัดลำดับความสำคัญจากนโยบายและการสั่งการ มากกว่าความพร้อมในการดำเนินโครงการ ความคุ้มค่าและประโยชน์ของโครงการ ทำให้หลายโครงการไม่สามารถดำเนินการได้ตามแผน หรือไม่เกิดการใช้ประโยชน์ตามเป้าหมายโครงการ • การจัดสรรงบประมาณให้แก่โครงการที่ขาดความพร้อม ทำให้โครงการไม่สามารถดำเนินงานได้ตามแผน • การขยายผลโครงการ เกิดจากการเยี่ยมชมจากผู้บริหารระดับสูง มากกว่าการประเมินผลสำเร็จของโครงการ ที่มา: โครงการศึกษาแนวทางการปรับปรุงระบบงบประมาณ, สำนักงบประมาณ

  33. 34 (MTEF Top Down) รายได้ ประมาณการทางเศรษฐกิจ รายจ่าย งบยุทธศาสตร์ งบยุทธศาสตร์ งบประมาณแผ่นดิน MTEF ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติ งบยุทธศาสตร์ (MTEF Bottom Up) เป้าหมายการให้ บริการ 4 ปี (กระทรวง) งบประจำ งบประจำ งบประจำ งบประจำ xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx เป้าหมายการให้ บริการ 4 ปี (หน่วยงาน) 1# 1# 1# 1# 2# 2# 2# 2# 3# 3# 3# 3# 4# 4# 4# 4# งบยุทธศาสตร์ เป้าหมายการให้ บริการ (หน่วยงาน) ผลผลิต โครงการ ตัวชี้วัด QQTC ตัวชี้วัด QQTC ประเด็นปัญหาสำคัญของเครื่องมืองบประมาณ จ. การจัดทำงบประมาณระยะปานกลาง (MTEF) • ขาดการให้ความสำคัญกับการจัดทำกรอบวงเงินงบประมาณระยะปานกลาง (MTEF) เพราะ MTEF ไม่ใช่ปัจจัยสำคัญในการกำหนดวงเงินงบประมาณประจำปี การจัดทำ MTEF ของส่วนราชการจะใช้วิธีเพิ่มสัดส่วนรายปี (%ที่เพิ่มขึ้น) • การขาดการจัดเก็บและบูรณาการข้อมูลงบประมาณ เพื่อจัดทำ MTEF อย่างเป็นระบบ ทั้งในระดับ top-down เช่น โครงการตามนโยบาย ยุทธศาสตร์ แผนแม่บทต่างๆ และ bottom-up เช่น กิจกรรมและผลผลิตตามภารกิจของส่วนราชการ ทำให้ยากต่อการจัดทำ MTEF ที่เหมาะสม • วิธีการจัดทำ MTEF ในส่วนราชการ มีความแตกต่างกัน ขาดมาตรฐาน/คู่มือการดำเนินงานที่ระบุช่วงเวลา ขั้นตอนและวิธีการ ทำให้หลายส่วนราชการจะรวมทุกโครงการ/กิจกรรมที่ต้องการ ส่งผลให้กรอบวงเงินงบประมาณสูงเกินความเป็นจริงมาก • การจัดทำกรอบวงเงิน MTEF ขาดการประเมินผลความสำเร็จของโครงการขนาดใหญ่ตามนโยบาย/ยุทธศาสตร์ (คงสภาพ เพิ่มขนาด ลดขนาด หรือ ยกเลิก) ส่งผลต่อความสมเหตุสมผลในการจัดทำกรอบวงเงิน MTEF (ผลงานไม่ประสบความสำเร็จ ยังคงขอวงเงินเพิ่ม) ที่มา: โครงการศึกษาแนวทางการปรับปรุงระบบงบประมาณ, สำนักงบประมาณ

  34. 35 ประเด็นปัญหาสำคัญของเครื่องมืองบประมาณ ฉ. การวิเคราะห์ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานจากการใช้งบประมาณ (Performance Assessment Rating Tool: PART) • ส่วนราชการไม่ให้ความสำคัญกับการประเมินตามระบบ PART เพราะไม่ทราบว่าผลการประเมินจาก PART จะส่งผลอย่างไรต่อการจัดสรรงบประมาณ ทำให้ส่วนใหญ่เห็นเป็นภาระในการจัดเก็บข้อมูลและเอกสารในขณะที่ก.พ.ร.ประยุกต์ใช้ Balanced Scorecardประเมินผลการปฏิบัติงานเพื่อประกอบการตัดสินใจการให้เงินรางวัลส่วนราชการ (Bonus) • การแยกระบบ PART ออกจากขั้นตอนการวางแผน การจัดทำ การติดตามและประเมินผลงบประมาณ ทำให้ยากต่อการปรับปรุงประสิทธิภาพการจัดการงบประมาณ ควรใช้การประเมินตามระบบ PART ควบคู่ไปกับขั้นตอนการวางแผนและการจัดทำงบประมาณ • การประเมินตามระบบ PART ยังคงผูกติดกับหน่วยงานประเมินผลหรืองบประมาณ ทำให้ PART ไม่สามารถเข้าไปช่วยปรับปรุงขั้นตอน/วิธีการทำงานของหน่วยปฏิบัติตลอดทาง ตั้งแต่การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ การจัดการงบประมาณ และการประเมินผลผลิต/ผลลัพธ์ • ขาดการมีส่วนร่วมของผู้บริหารระดับสูง ในการตัดสินใจปรับปรุงวิธีการดำเนินงาน ตามข้อเสนอแนะจากผลการประเมินของ PART เนื่องจากข้อเสนอแนะส่วนใหญ่ เป็นข้อเสนอแนะที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนระบบการดำเนินงานและการบริหารจัดการ เช่น การรวมผลผลิตเข้าด้วยกัน ที่มา: โครงการศึกษาแนวทางการปรับปรุงระบบงบประมาณ, สำนักงบประมาณ

  35. 36 ความสำเร็จในการจัดการงบประมาณ แบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ • ความเข้าใจพื้นฐานขององค์ประกอบ เครื่องมืองบประมาณ และความเชื่อมโยงโดยรวมของระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ • ความเข้าใจในขั้นตอนการปฏิบัติงานและปฏิสัมพันธ์ระหว่างหน่วยงานตามระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์ • ความเข้าใจในบทบาทหน้าที่ที่ชัดเจนในแต่ละขั้นตอนของแต่ละส่วนราชการและสำนักงบประมาณ เพื่อใช้ระบบงบประมาณเป็นเครื่องมือในการขับเคลื่อนภารกิจของส่วนราชการอย่างมีประสิทธิภาพ • ความพร้อมของข้อมูลสำคัญที่จำเป็นต้องใช้ในแต่ละขั้นตอนงบประมาณ ที่มา: โครงการศึกษาแนวทางการปรับปรุงระบบงบประมาณ, สำนักงบประมาณ

  36. การปฏิบัติงานที่ครบวงจรงบประมาณตามระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานการปฏิบัติงานที่ครบวงจรงบประมาณตามระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน 1. การจัดทำนโยบายรัฐบาล 4. การกำหนดกรอบวงเงินงบประมาณรายจ่ายประจำปี 3. การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ส่วนราชการ (แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี) 2. การจัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน (4 ปี) 1 2 3 ครม.กำหนด นโยบายรัฐบาล และแถลงต่อสภาฯ 4 รัฐบาล ครม.ให้ ความเห็นชอบ แผนการบริหาร ราชการแผ่นดิน ครม.ให้ ความเห็นชอบ กรอบวงเงินงบประมาณ สรุปสภาวะประเทศ คณก.สรุปสภาวะประเทศฯ คณก.รวบรวม ข้อมูลฯ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับแผนการบริหารราชการแผ่นดิน คณก.จัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน จัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน กำหนดกรอบวงเงินงบ ประมาณ สงป. วิเคราะห์ MTEFTop-down ตาม แผนการบริหารราชการแผ่นดิน พิจารณาMTEF - Top-down - Bottom-up วิเคราะห์ MTEFBottom-up ของส่วนราชการ กค. ธปท. ขั้นตอนที่ 6จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี ส่วนราชการ ร่วมจัดทำ/ ให้ข้อมูล รมต.ให้นโยบาย รมต.อนุมัติแผน 4 ปี ข้อมูลย้อนกลับ จากขั้นตอนที่ 8 การติดตามและประเมินผล จัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี 37

  37. วิเคราะห์ คำของบ ประมาณ การ พิจารณา ของสภาฯ แผนปฏิบัติราชการประจำปี 4 ปี จากขั้นตอนที่ 3 ส่วนราชการชี้แจง การปฏิบัติงานที่ครบวงจรงบประมาณตามระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน 5. การกำหนดทิศทางการจัดสรรงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์ (ยุทธศาสตร์การจัดสรรฯ) 6. การจัดทำแผนงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ (คำของบประมาณ) 7. การจัดสรรงบประมาณ เชิงยุทธศาสตร์ 8. การติดตามและประเมินผล สภาให้ความเห็นชอบ 5 6 7 8 รัฐบาล ครม.ให้ ความเห็นชอบ ยุทธศาสตร์จัดสรร ครม.ปรับปรุง/เห็นชอบเสนอสภาฯ คณก.สรุปสภาวะประเทศฯ คณก.รวบรวม ข้อมูลฯ คณก.จัดทำแผนการบริหารราชการแผ่นดิน สงป. กำหนดยุทธศาสตร์จัดสรร/ปฏิทินงบประมาณ แจ้งส่วนราชการ ติดตามประเมินผล กค. ธปท. ส่วนราชการ จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี รมต.ให้ความเห็นชอบ เบิกจ่ายงบประมาณดำเนินการและติดตามประเมินผล • ข้อมูลย้อนกลับไป • ขั้นตอนที่ 1 การจัดทำนโยบายรัฐบาล • ขั้นตอนที่ 3 จัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี จัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี 38

  38. ความเชื่อมโยงองค์ประกอบสำคัญของความเชื่อมโยงองค์ประกอบสำคัญของ ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานทั้งระบบ (MTEF Top Down) งบยุทธศาสตร์ งบยุทธศาสตร์ 4# 4# 4# 3# 3# 3# 2# 2# 2# 1# 1# 1# งบยุทธศาสตร์ งบประจำ งบประจำ งบประจำ งบประจำ xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx xxx 1# 1# 1# 1# 2# 2# 2# 2# 3# 3# 3# 3# 4# 4# 4# 4# 1# งบยุทธศาสตร์ 4. การกำหนดกรอบวงเงิน งบประมาณรายจ่ายประจำปี (Budget Ceiling Establishment) รายได้ ประมาณการทางเศรษฐกิจ รายจ่าย 1 PEM 1. การจัดทำ นโยบายรัฐบาล (National Policy Formulation) 2. การจัดทำแผน การบริหารราชการแผ่นดิน (National Administrative Plan Formulation) 5 2 4 งบประมาณแผ่นดิน 5. การกำหนดทิศทาง การจัดสรรงบประมาณ เชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Budget Direction) ทิศทางเชิงนโยบาย การวางแผนฯ ตามพรฎ. การวางแผนงบประมาณ MTEF ระดับชาติ ระดับชาติ ผลกระทบ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน นโยบายรัฐบาล ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ระดับชาติ แผนพัฒนาประเทศด้านต่าง ๆ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติ ผลลัพธ์ 3 3. การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ส่วนราชการ (Strategic Planning) ระดับกระทรวง (MTEF Bottom Up) นโยบายรัฐมนตรี แผนปฏิบัติราชการ 4 ปี เป้าหมายการให้ บริการ 4 ปี (กระทรวง) ระดับกระทรวง แผนปฏิบัติราชการ 4 ปีหน่วยงาน เป้าหมายการให้ บริการ 4 ปี (หน่วยงาน) ระดับกรม/หน่วยงาน ระดับกรม ผลผลิต แผนปฏิบัติราชการ ประจำปีหน่วยงาน เป้าหมายการให้ บริการ (หน่วยงาน) 6. การจัดทำแผนงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ (Strategic Budget Planning) 6 ประจำ ยุทธศาสตร์ กลยุทธ์หน่วยงาน ตัวชี้วัด QQTC ผลผลิต โครงการ 8 ตัวชี้วัด QQTC 8. การติดตาม และ ประเมินผล (Monitoring & Evaluation) กิจกรรมหลัก กิจกรรมรอง กิจกรรมสนับสนุน Actual ติดตามประเมินผล งบรายจ่ายอื่น ๆ Variable Budget งบอุดหนุน งบเงินลงทุน งบดำเนินการ Fixed Budget ดำเนินการ งบบุคลากร 7. การจัดสรรงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์ (Strategic Budget Allocation) 7 งบผลผลิตตามพันธกิจ งบโครงการตามยุทธศาสตร์ ความต้องการงบประมาณ อนุมัติงบประมาณ เบิกจ่าย/ดำเนินการ

  39. มิติ ก. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ (ระดับชาติ) ตัวชี้วัด มิติ จ. การประเมินผล ในระดับผลผลิต/ผลลัพธ์ เป้าหมายการให้บริการ (ระดับกระทรวง) ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด เป้าหมายการให้บริการ (ระดับกรม/หน่วยงาน) มิติ ข. การวางแผนกลยุทธ์ กลยุทธ์ กลยุทธ์ ผลผลิต ผลผลิต โครงการ (ระดับผลผลิต) ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด มิติ ค. ความเชื่อมโยงงบประมาณ กิจกรรม กิจกรรม โครงการย่อย โครงการย่อย ต้นทุนกิจกรรม ต้นทุนกิจกรรม ต้นทุนผลผลิต ต้นทุนผลผลิต ต้นทุนโครงการ มิติ ง. การบริหารจัดการ การดำเนินงาน/การใช้งบประมาณ

  40. 41 เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ (ระดับชาติ) ตัวชี้วัด มิติ ก. จุดมุ่งหมายและรูปแบบ ก2 เป้าหมายการให้บริการ (ระดับกระทรวง) ตัวชี้วัด ความเข้าใจในเป้าหมายระดับชาติ/ระดับกระทรวงที่ ส่วนราชการรับผิดชอบ ตัวชี้วัดเป้าหมาย การให้บริการต้องสอดคล้องกับตัวชี้วัดเป้าหมายระดับสูง ก1 ตัวชี้วัด เป้าหมายการให้บริการ (ระดับกรม /หน่วยงาน) เป้าหมายการให้บริการมาจากความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ผลผลิต/โครงการตอบสนองต่อเป้าหมายระดับสูงและความต้องการของกลุมเป้าหมาย และไม่ซ้ำซ้อนกับผลผลิตหน่วยงานอื่น ก3 กลยุทธ์ กลยุทธ์ ก4 ก5 ผลผลิต ผลผลิต โครงการ (ระดับผลผลิต) ตัวชี้วัด กิจกรรม กิจกรรม โครงการย่อย โครงการย่อย ต้นทุนกิจกรรม ต้นทุนกิจกรรม ก6 คำนึงถึงอุปสรรคและข้อจำกัดต่อการนำส่งผลผลิต ต้นทุนผลผลิต ต้นทุนผลผลิต ต้นทุนโครงการ การดำเนินงาน/การใช้งบประมาณ

  41. 42 เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ (ระดับชาติ) ตัวชี้วัด มิติ ข. การวางแผนกลยุทธ์ ข7 เป้าหมายการให้บริการ (ระดับกระทรวง) ตัวชี้วัด วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงยุทธศาสตร์และสภาวแวดล้อม ข1 แสดงความเชื่อมโยง ในการถ่ายทอดจากเป้าหมายยุทธศาสตร์ระดับชาติไปสู่ผลผลิต/กิจกรรม ข3 ค่าเป้าหมายตัวชี้วัดเป้าหมายการให้บริการมีความท้าทายและกำหนดเป้าหมายในระยะยาว ตัวชี้วัด เป้าหมายการให้บริการ (ระดับกรม /หน่วยงาน) กลยุทธ์ กลยุทธ์ ข2 ผลผลิต ผลผลิต โครงการ (ระดับผลผลิต) ตัวชี้วัด กำหนดเป้าหมายตัวชี้วัดระดับผลผลิตระยะยาว (4ปี) ข4 กิจกรรม กิจกรรม กำหนดเป้าหมายตัวชี้วัดผลผลิตรายปี (QQTC) โครงการย่อย โครงการย่อย ข5 ข6 กำหนดแนวทางการประสานความร่วมมือการดำเนินงานและการประเมินผลการปฏิบัติงาน ต้นทุนกิจกรรม ต้นทุนกิจกรรม ต้นทุนผลผลิต ต้นทุนผลผลิต ต้นทุนโครงการ การดำเนินงาน/การใช้งบประมาณ

  42. 43 เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ (ระดับชาติ) ตัวชี้วัด มิติ ค. ความเชื่อมโยงงบประมาณ เป้าหมายการให้บริการ (ระดับกระทรวง) ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด เป้าหมายการให้บริการ (ระดับกรม /หน่วยงาน) ค5 พิจารณาผลการปฏิบัติที่ผ่านมาเพื่อปรับเป้าหมายตัวชี้วัดผลผลิต กลยุทธ์ กลยุทธ์ ค1 กำหนดเป้าหมายตัวชี้วัดผลผลิตรายปีที่เชื่อมโยงไปสู่ความสำเร็จในปีสุดท้าย (ปีที่ 4) ผลผลิต ผลผลิต โครงการ (ระดับผลผลิต) ตัวชี้วัด กิจกรรม กิจกรรม ค2 ค3 โครงการย่อย กำหนดกิจกรรมหลัก ตัวชี้วัด และเชื่อมโยงสู่ทรัพยากรที่ต้องการ (งบประมาณ/บุคลากร) โครงการย่อย ต้นทุนกิจกรรม ต้นทุนกิจกรรม ค4 วิเคราะห์ต้นทุน ต้นทุนผลผลิต ต้นทุนผลผลิต ต้นทุนโครงการ การดำเนินงาน/การใช้งบประมาณ

  43. มิติ ง. การบริหารจัดการ เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ (ระดับชาติ) ตัวชี้วัด เป้าหมายการให้บริการ (ระดับกระทรวง) ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด เป้าหมายการให้บริการ (ระดับกรม/หน่วยงาน) ง7 ง5 มีการประเมินบุคคลผู้รับผิดชอบผลผลิต มีกระบวนการจัดการที่ช่วยวัดผลการดำเนินงาน กลยุทธ์ กลยุทธ์ ผลผลิต ผลผลิต โครงการ (ระดับผลผลิต) ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ง3 นำข้อมูลผลผลิตใช้ในการบริหารจัดการ และปรับปรุงการดำเนินงาน กิจกรรม กิจกรรม โครงการย่อย ง4 โครงการย่อย นำต้นทุนต่อหน่วยผลผลิต ไปใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการ ง2 จัดทำระบบรายงานข้อมูลย้อนกลับของแต่ละผลผลิต ต้นทุนกิจกรรม ต้นทุนกิจกรรม ต้นทุนผลผลิต ต้นทุนผลผลิต ต้นทุนโครงการ ง1 จัดทำและบริหารแผนการปฏิบัติงานและแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี ง6 มีรายงานผลการตรวจสอบทางการเงิน การดำเนินงาน/การใช้งบประมาณ

  44. จ3 มิติ จ. การประเมินผลในระดับผลผลิต/ผลลัพธ์ ความคุ้มค่าเชิงเศรษฐกิจและ/หรือสังคม เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ (ระดับชาติ) ตัวชี้วัด เป้าหมายการให้บริการ (ระดับกระทรวง) ตัวชี้วัด จ1 จ5 เปรียบเทียบผลลัพธ์ที่ได้ กับเป้าหมายผลลัพธ์ระยะยาว ประเมินผลจาก ผู้ประเมินอิสระ ตัวชี้วัด เป้าหมายการให้บริการ (ระดับกรม/หน่วยงาน) กลยุทธ์ กลยุทธ์ จ4 เปรียบเทียบผลผลิตและเป้าหมายผลผลิตกับส่วนราชการฯ และหน่วยงานเอกชนอื่น ผลผลิต ผลผลิต โครงการ (ระดับผลผลิต) ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด จ2 เปรียบเทียบผลผลิตที่ได้ กับเป้าหมายผลผลิตประจำปี กิจกรรม กิจกรรม โครงการย่อย โครงการย่อย ต้นทุนกิจกรรม ต้นทุนกิจกรรม ต้นทุนผลผลิต ต้นทุนผลผลิต ต้นทุนโครงการ การดำเนินงาน/การใช้งบประมาณ

  45. 46 ขั้นตอนที่ 1 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ส่วนราชการ ขั้นตอนที่ 2 การจัดทำแผนงบประมาณเชิงยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ ขั้นตอนที่ 3 การติดตามและประเมินผล กระบวนการพิจารณาพรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี ทำความเข้าใจนโยบายรัฐบาลและแผนการบริหารราชการแผ่นดิน ทำความเข้าใจยุทธศาสตร์การจัดสรร /แนวทางการจัดสรร ตรวจสอบสภาวะแวดล้อมและกลุ่มเป้าหมาย ทำความเข้าใจกรอบภารกิจตามกฎหมาย ทำความเข้าใจนโยบาย รมต. จัดทำแผนปฏิบัติงาน/แผนการใช้จ่ายงบประมาณ และเบิกจ่ายงบประมาณ จัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (กำหนดเป้าหมาย/ตัวชี้วัด) จัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปี (กำหนดเป้าหมาย/ตัวชี้วัด) ทบทวนผลการดำเนินงานที่ผ่านมา จัดทำความต้องการงบประมาณ 4 ปี กำหนดผลผลิต/กิจกรรม/ตัวชี้วัด จัดทำความต้องการงบประมาณประจำปี รายงานผลตามเป้าหมาย/ตัวชี้วัด(แผนปฏิบัติราชการประจำปี) กำหนดผลผลิต/ตัวชี้วัด บริหารและติดตามความก้าวหน้าผลผลิต/ วิเคราะห์ต้นทุนผลผลิตและจัดทำงบประมาณ ทบทวน/ตรวจสอบ/ ประเมินผลการดำเนินงานโครงการที่ผ่านมา ริเริ่มและวิเคราะห์โครงการเบื้องต้น วิเคราะห์และวางแผน รายละเอียดโครงการ จัดทำคำของบประมาณโครงการ บริหารและติดตามความก้าวหน้า ของการดำเนินโครงการ ประเมินผลการใช้งานและการติดตาม/ ปรับปรุง/ แก้ไข

More Related