1 / 52

การบริหารจัดการสินค้ามันสำปะหลัง ในจังหวัดสระแก้ว โดยรูปแบบ MRCF

สำนักงานเกษตรจังหวัดสระแก้ว. การบริหารจัดการสินค้ามันสำปะหลัง ในจังหวัดสระแก้ว โดยรูปแบบ MRCF. พื้นที่จังหวัดสระแก้ว. จังหวัดสระแก้ว ตั้งอยู่ภาคตะวันออกของประเทศไทย อยู่ห่างจากกรุงเทพฯ 256 กม. มีเนื้อที่ประมาณ 7,195.436 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 4,496,962 ไร่.

magda
Télécharger la présentation

การบริหารจัดการสินค้ามันสำปะหลัง ในจังหวัดสระแก้ว โดยรูปแบบ MRCF

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สำนักงานเกษตรจังหวัดสระแก้วสำนักงานเกษตรจังหวัดสระแก้ว การบริหารจัดการสินค้ามันสำปะหลัง ในจังหวัดสระแก้ว โดยรูปแบบ MRCF

  2. พื้นที่จังหวัดสระแก้วพื้นที่จังหวัดสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว ตั้งอยู่ภาคตะวันออกของประเทศไทยอยู่ห่างจากกรุงเทพฯ 256 กม. มีเนื้อที่ประมาณ 7,195.436 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 4,496,962 ไร่ มีอาณาเขตติดต่อกับจังหวัดใกล้เคียง ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ อ.ครบุรี จ.นครราชสีมา และ อ.ละหานทราย จ.บุรีรัมย์ ทิศใต้ติดต่อกับ อ.สอยดาว จ.จันทบุรี ทิศตะวันออกติดต่อกับ ราชอาณาจักรกัมพูชา ทิศตะวันตกติดต่อกับ อ.กบินทร์บุรี, อ.นาดี จ.ปราจีนบุรี และอ.สนามชัยเขต จ.ฉะเชิงเทรา

  3. พื้นที่จังหวัดสระแก้วพื้นที่จังหวัดสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว แบ่งเขตการปกครองออกเป็น 9อำเภอ 58ตำบล 731หมู่บ้าน อ.ตาพระยา อ.วัฒนานคร อ.เมืองสระแก้ว อ.โคกสูง อ.อรัญประเทศ ส่วนท้องถิ่น ประกอบด้วย เทศบาลเมือง 3แห่ง เทศบาลตำบล 13แห่ง องค์การบริหารส่วนตำบล 49แห่ง องค์การบริหารส่วนจังหวัด 1 แห่ง อ.เขาฉกรรจ์ อ.วังน้ำเย็น อ.คลองหาด อ.วังสมบูรณ์

  4. พื้นที่จังหวัดสระแก้วพื้นที่จังหวัดสระแก้ว ลักษณะภูมิประเทศ ด้านเหนือมีเทือกเขาบรรทัดซึ่งเป็นต้นกำเนิดของแม่น้ำบางปะกง มีลักษณะเป็นป่าเขาทึบ ด้านใต้มีลักษณะเป็นที่ราบเชิงเขา ตอนกลางมีลักษณะเป็นที่ราบ ด้านตะวันออกลักษณะเป็นที่ราบถึงที่ราบสูง ด้านตะวันตกเป็นพื้นที่ลาดไปทาง อ.กบินทร์บุรี จ.ปราจีนบุรี

  5. ปริมาณน้ำฝนจังหวัดสระแก้วปริมาณน้ำฝนจังหวัดสระแก้ว อ.ตาพระยา อ.วัฒนานคร อ.เมืองสระแก้ว อ.โคกสูง ขอบเขตอำเภอสระแก้ว ปริมาณน้ำฝน 800-1000 1000-1200 1200-1400 1400-1600 อ.อรัญประเทศ อ.เขาฉกรรจ์ อ.วังน้ำเย็น อ.คลองหาด อ.วังสมบูรณ์

  6. ปริมาณน้ำฝนจังหวัดสระแก้วปริมาณน้ำฝนจังหวัดสระแก้ว

  7. แหล่งน้ำในจังหวัดสระแก้วแหล่งน้ำในจังหวัดสระแก้ว คลองสายหลักในจังหวัดสระแก้ว คลองพรมโหด คลองพระปรง คลองพระปรง คลองพรมโหด คลองพระสทึง คลองพระสทึง

  8. พืชเศรษฐกิจที่สำคัญ อ.ตาพระยา 183,968 ไร่ อ.วัฒนานคร 161,555 ไร่ อ.เมืองสระแก้ว 88,629 ไร่ อ.โคกสูง 91,499 ไร่ อ.อรัญประเทศ 184,810 ไร่ อ.เขาฉกรรจ์ 59,719 ไร่ อ.วังน้ำเย็น 17,971 ไร่ อ.คลองหาด 16,084 ไร่ ข้าว พื้นที่ปลูก 809,398 ไร่ อ.วังสมบูรณ์ 5,163 ไร่

  9. พืชเศรษฐกิจที่สำคัญ อ.ตาพระยา 52,391 ไร่ อ.เมืองสระแก้ว 45,791 ไร่ อ.วัฒนานคร 75,941 ไร่ อ.โคกสูง 23,128 ไร่ อ.อรัญประเทศ 25,264 ไร่ อ.เขาฉกรรจ์ 26,540 ไร่ อ.วังน้ำเย็น 14,838 ไร่ มันสำปะหลัง พื้นที่ปลูก 430,019 ไร่ อ.คลองหาด 85,598 ไร่ อ.วังสมบูรณ์ 80,528 ไร่

  10. พืชเศรษฐกิจที่สำคัญ อ.ตาพระยา 3,594 ไร่ อ.วัฒนานคร 40,228 ไร่ อ.เมืองสระแก้ว 31,634 ไร่ อ.โคกสูง 15,097 ไร่ อ.อรัญประเทศ 48,812 ไร่ อ.เขาฉกรรจ์ 30,125 ไร่ อ.วังน้ำเย็น 44,481 ไร่ อ.คลองหาด 39,246 ไร่ อ้อยโรงงาน พื้นที่ปลูก 280,142 ไร่ อ.วังสมบูรณ์ 26,925 ไร่

  11. พืชเศรษฐกิจที่สำคัญ อ.ตาพระยา - ไร่ อ.เมืองสระแก้ว 12,402 ไร่ อ.โคกสูง 163 ไร่ อ.วัฒนานคร 5,497 ไร่ อ.เขาฉกรรจ์ 5,439 ไร่ อ.อรัญประเทศ 3,485 ไร่ อ.วังน้ำเย็น 9,363 ไร่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ พื้นที่ปลูก 94,243 ไร่ อ.วังสมบูรณ์ 16,637 ไร่ อ.คลองหาด 41,257 ไร่

  12. พืชเศรษฐกิจที่สำคัญ อ.ตาพระยา 746 ไร่ อ.วัฒนานคร 7,484 ไร่ อ.เมืองสระแก้ว 5,704 ไร่ อ.โคกสูง 319 ไร่ อ.อรัญประเทศ 909 ไร่ อ.เขาฉกรรจ์ 7,964 ไร่ อ.วังน้ำเย็น 7,538 ไร่ อ.คลองหาด 6,859 ไร่ ยางพารา พื้นที่ปลูก 55,196 ไร่ อ.วังสมบูรณ์ 17,673 ไร่

  13. พืชเศรษฐกิจที่สำคัญ อ.ตาพระยา 415 ไร่ อ.วัฒนานคร 8,846 ไร่ อ.เมืองสระแก้ว 2,958 ไร่ อ.โคกสูง 230 ไร่ อ.อรัญประเทศ 1,542 ไร่ อ.เขาฉกรรจ์ 2,564 ไร่ อ.วังน้ำเย็น 990 ไร่ ปาล์มน้ำมัน พื้นที่ปลูก 24,303 ไร่ อ.คลองหาด 4,131 ไร่ อ.วังสมบูรณ์ 2,627 ไร่

  14. พืชเศรษฐกิจที่สำคัญ อ.ตาพระยา 475 ไร่ อ.เมืองสระแก้ว 2,430 ไร่ อ.วัฒนานคร 1,480 ไร่ อ.โคกสูง 295 ไร่ อ.อรัญประเทศ 466 ไร่ อ.เขาฉกรรจ์ 2,960 ไร่ อ.วังน้ำเย็น 1,764 ไร่ อ.คลองหาด 1 68 ไร่ มะม่วง พื้นที่ปลูก 10,743 ไร่ อ.วังสมบูรณ์805 ไร่

  15. พืชเศรษฐกิจที่สำคัญ อ.ตาพระยา143 ไร่ อ.เมืองสระแก้ว 256 ไร่ อ.วัฒนานคร 177 ไร่ อ.โคกสูง 35 ไร่ อ.อรัญประเทศ 350 ไร่ อ.เขาฉกรรจ์ 664 ไร่ อ.วังน้ำเย็น 1,832 ไร่ อ.คลองหาด 1 3,402ไร่ ลำไย พื้นที่ปลูก 11,251 ไร่ อ.วังสมบูรณ์ 4,392 ไร่

  16. พืชเศรษฐกิจที่สำคัญ อ.ตาพระยา อ.เมืองสระแก้ว อ.วัฒนานคร อ.โคกสูง พื้นที่การเกษตรทั้งหมด 2,599,240 ไร่ พื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจ จำนวน 1,715,295 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 66 ของพื้นที่การเกษตรทั้งหมด ข้าว 809,398 ไร่ มันสำปะหลัง 403,019 ไร่ อ้อยโรงงาน 280,142 ไร่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 94,243 ไร่ ยางพารา 55,196 ไร่ ปาล์มน้ำมัน 24,303 ไร่ มะม่วง 10,743 ไร่ ลำไย 11,251 ไร่ อ.อรัญประเทศ อ.เขาฉกรรจ์ อ.วังน้ำเย็น อ.คลองหาด อ.วังสมบูรณ์

  17. ครัวเรือนเกษตรกร อ.ตาพระยา 6,137 ครัวเรือน อ.เมืองสระแก้ว 6,704 ครัวเรือน อ.วัฒนานคร 5,989 ครัวเรือน อ.โคกสูง 976 ครัวเรือน อ.อรัญประเทศ 6,501 ครัวเรือน อ.เขาฉกรรจ์ 3,350 ครัวเรือน อ.วังน้ำเย็น 1,363 ครัวเรือน ทำนา 32,565 ครัวเรือน อ.คลองหาด 1,010 ครัวเรือน อ.วังสมบูรณ์ 535 ครัวเรือน

  18. ครัวเรือนเกษตรกร อ.ตาพระยา 2,081 ครัวเรือน อ.วัฒนานคร 4,754 ครัวเรือน อ.เมืองสระแก้ว 4,228 ครัวเรือน อ.โคกสูง 292 ครัวเรือน อ.อรัญประเทศ 1,792 ครัวเรือน อ.เขาฉกรรจ์ 3,271 ครัวเรือน อ.วังน้ำเย็น 1,899 ครัวเรือน ทำไร่ 22,828 ครัวเรือน อ.คลองหาด 2,985 ครัวเรือน อ.วังสมบูรณ์ 1,526 ครัวเรือน

  19. ครัวเรือนเกษตรกร อ.ตาพระยา 55 ครัวเรือน อ.โคกสูง 25 ครัวเรือน อ.เมืองสระแก้ว 587 ครัวเรือน อ.วัฒนานคร 257 ครัวเรือน อ.อรัญประเทศ 84 ครัวเรือน อ.เขาฉกรรจ์ 679 ครัวเรือน อ.วังน้ำเย็น 262 ครัวเรือน อ.คลองหาด 463 ครัวเรือน ไม้ผลไม้ยืนต้น 2,876 ครัวเรือน อ.วังสมบูรณ์ 484 ครัวเรือน

  20. ครัวเรือนเกษตรกร อ.ตาพระยา อ.เมืองสระแก้ว อ.วัฒนานคร อ.โคกสูง อ.อรัญประเทศ รวมครัวเรือนเกษตรกร 58,424 ครัวเรือน ทำนา 26,358 ครัวเรือน ทำไร่ 17,068 ครัวเรือน ไม้ผลไม้ยืนต้น 2,876 ครัวเรือน อ.เขาฉกรรจ์ อ.วังน้ำเย็น อ.คลองหาด อ.วังสมบูรณ์

  21. กลุ่ม/องค์กรเกษตรกร อ.ตาพระยา จำนวน 1 กลุ่ม อ.วัฒนานคร จำนวน 22 กลุ่ม อ.เมืองสระแก้ว จำนวน 7 กลุ่ม อ.โคกสูง จำนวน4 กลุ่ม อ.อรัญประเทศ จำนวน3 กลุ่ม อ.เขาฉกรรจ์ จำนวน 5 กลุ่ม อ.คลองหาด จำนวน 9 กลุ่ม อ.วังน้ำเย็น จำนวน 10 กลุ่ม อ.วังสมบูรณ์ จำนวน 8 กลุ่ม รวมกลุ่มแม่บ้านเกษตรกร จังหวัดสระแก้ว จำนวน ๖๙ กลุ่ม ๑,๒๘๒ คน

  22. กลุ่ม/องค์กรเกษตรกร อ.ตาพระยา จำนวน 5 กลุ่ม อ.วัฒนานคร จำนวน 4 กลุ่ม อ.เมืองสระแก้ว จำนวน 4 กลุ่ม อ.โคกสูง จำนวน 7 กลุ่ม อ.เขาฉกรรจ์ จำนวน 7 กลุ่ม อ.อรัญประเทศ จำนวน3 กลุ่ม อ.วังน้ำเย็น จำนวน 12 กลุ่ม อ.คลองหาด จำนวน 4 กลุ่ม อ.วังสมบูรณ์ จำนวน 9 กลุ่ม รวมกลุ่มยุวเกษตรกร จังหวัดสระแก้ว จำนวน 55 กลุ่ม 1,328 ราย

  23. กลุ่ม/องค์กรเกษตรกร อ.ตาพระยา จำนวน 12 กลุ่ม อ.วัฒนานคร จำนวน 10 กลุ่ม อ.เมืองสระแก้ว จำนวน 11 กลุ่ม อ.โคกสูง จำนวน 6 กลุ่ม อ.เขาฉกรรจ์ จำนวน 10 กลุ่ม อ.อรัญประเทศ จำนวน 9 กลุ่ม อ.วังน้ำเย็น จำนวน 10 กลุ่ม อ.คลองหาด จำนวน 8 กลุ่ม อ.วังสมบูรณ์ จำนวน 12 กลุ่ม รวมกลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร จังหวัดสระแก้ว จำนวน 74 กลุ่ม 1,562 ราย

  24. กลุ่ม/องค์กรเกษตรกร อ.ตาพระยา จำนวน 85 แห่ง อ.วัฒนานคร จำนวน 63 แห่ง อ.เมืองสระแก้ว จำนวน 45 แห่ง อ.โคกสูง จำนวน 46 แห่ง อ.อรัญประเทศ จำนวน 30 แห่ง อ.เขาฉกรรจ์ จำนวน 36 แห่ง อ.คลองหาด จำนวน 46 แห่ง อ.วังน้ำเย็น จำนวน 67 แห่ง อ.วังสมบูรณ์ จำนวน 54 แห่ง รวมกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดสระแก้ว จำนวน 472 แห่ง 6,751 ราย

  25. กลุ่ม/องค์กรเกษตรกร อ.ตาพระยา จำนวน 6 ศูนย์ อ.วัฒนานคร จำนวน 12 ศูนย์ อ.เมืองสระแก้ว จำนวน 9 ศูนย์ อ.โคกสูง จำนวน 4 ศูนย์ อ.อรัญประเทศ จำนวน 13ศูนย์ อ.เขาฉกรรจ์ จำนวน 6ศูนย์ อ.คลองหาด จำนวน 8ศูนย์ อ.วังน้ำเย็น จำนวน 5 ศูนย์ อ.วังสมบูรณ์ จำนวน 3ศูนย์ รวมศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนใน จังหวัดสระแก้ว จำนวน 58 ตำบล 66 ศูนย์

  26. กลุ่ม/องค์กรเกษตรกร อ.ตาพระยา จำนวน 6 ศูนย์ อ.วัฒนานคร จำนวน 8 ศูนย์ อ.เมืองสระแก้ว จำนวน 4 ศูนย์ อ.โคกสูง จำนวน 4 ศูนย์ อ.อรัญประเทศ จำนวน 3 ศูนย์ อ.คลองหาด จำนวน - ศูนย์ อ.เขาฉกรรจ์ จำนวน 5 ศูนย์ อ.วังน้ำเย็น จำนวน 2 ศูนย์ อ.วังสมบูรณ์ จำนวน - ศูนย์ รวมศูนย์ข้าวชุมชนในจังหวัดสระแก้ว จำนวน 30ศูนย์

  27. กลุ่ม/องค์กรเกษตรกร อ.ตาพระยา อ.วัฒนานคร อ.เมืองสระแก้ว อ.โคกสูง รวมกลุ่ม/องค์กรเกษตรกร กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร 69 กลุ่ม กลุ่มยุวเกษตรกร 55 กลุ่ม กลุ่มส่งเสริมอาชีพ 74 กลุ่ม วิสาหกิจชุมชน 472 แห่ง ศูนย์จัดการศัตรูพืชฯ 58 กลุ่ม ศูนย์ข้าวชุมชน 30 ศูนย์ อ.วังน้ำเย็น อ.อรัญประเทศ อ.เขาฉกรรจ์ อ.คลองหาด อ.วังสมบูรณ์

  28. Smart Farmer ปี 2556 จำนวน 7 สาขา Smart Farmer สาขายางพารา พ.ต.ท.บุญถิ่น ศิริพัฒโกศล เกษตรกร อ.วัฒนานคร โทรศัพท์ 081 5891210 อ.ตาพระยา Smart Farmer สาขาอ้อยโรงงาน นายทองแดง ไวนุสิทธิ์ เกษตรกร อ.วัฒนานคร โทรศัพท์ 082 2140881 อ.วัฒนานคร อ.เมืองสระแก้ว อ.โคกสูง Smart Farmer สาขามันสำปะหลัง นายธนาวุฒิ ยุวรัตน์ เกษตรกร อ.เขาฉกรรจ์ โทรศัพท์ 085 0617774 Smart Farmer สาขา เกษตรผสมผสาน นายอำพันธ์ พึ่งพา เกษตรกร อ.อรัญประเทศ อ.อรัญประเทศ อ.เขาฉกรรจ์ อ.คลองหาด Smart Farmer สาขาปาล์มน้ำมัน นายวีระชัย ขาวสำลี เกษตรกร อ.คลองหาด โทรศัพท์ 081 8199664 อ.วังน้ำเย็น Smart Farmer สาขา Young Smart Farmer นายสมชาย ท่าใหญ่ เกษตรกร อ.เขาฉกรรจ์ โทรศัพท์ 084 9034479 Smart Farmer สาขาข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ นางภัชรี มังพรมราช เกษตรกร อ.คลองหาด โทรศัพท์ 087 7405683 อ.วังสมบูรณ์

  29. วิสัยทัศน์จังหวัดสระแก้ววิสัยทัศน์จังหวัดสระแก้ว “ศูนย์กลางโลจิสติกส์ และแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศของอินโดจีน ถิ่นพืชพลังงาน อาหารปลอดภัย”

  30. จุดยืนการพัฒนาด้านการเกษตรจังหวัดสระแก้วจุดยืนการพัฒนาด้านการเกษตรจังหวัดสระแก้ว (Positioning) “เมืองแห่งพืชพลังงาน” (Energy Green City)

  31. พืชพลังงานจังหวัดสระแก้วพืชพลังงานจังหวัดสระแก้ว พื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง คิดเป็น ร้อยละ 59 ของพื้นที่ปลูกพืชพลังงานทั้งหมด 734,464 ไร่

  32. นักส่งเสริมการเกษตร

  33. M = Mapping ข้อมูลแผนที่และข้อมูลพื้นฐานด้านการเกษตรที่เกี่ยวข้องกับการผลิตมันสำปะหลัง

  34. เขตความเหมาะสมสำหรับการปลูกมันสำปะหลังจังหวัดสระแก้วเขตความเหมาะสมสำหรับการปลูกมันสำปะหลังจังหวัดสระแก้ว ขอบเขตอำเภอ พื้นที่ปลูกมันสำปะหลังในปัจจุบัน S1 S2 N

  35. แผนที่แสดงพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังจังหวัดสระแก้วแผนที่แสดงพื้นที่ปลูกมันสำปะหลังจังหวัดสระแก้ว พื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง 430,019 ไร่ ขอบเขตอำเภอ ปริมาณผลผลิต 1,462,065 ตัน

  36. องค์ประกอบนำไปสู่ความสำเร็จองค์ประกอบนำไปสู่ความสำเร็จ

  37. ดิน การเกิดดินดาน การไถระเบิดดินดาน การไถเพื่อทำลายชั้นดินดานสามารถเพิ่มผลผลิตได้เฉลี่ย 1.06 ตันต่อไร่ หรือประมาณ 15 % ของผลผลิตเดิม ทั้งนี้ การไถระเบิดดินดานควรกระทำทุก ๆ 3-5 ปีเป็นอย่างน้อย ที่มา : ดร.โอภาษ บุญเส็ง ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง สถาบันวิจัยพืชไร่และพืชทดแทนพลังงานกรมวิชาการเกษตร

  38. น้ำ ระบบน้ำในไร่มันสำปะหลัง การใช้ระบบน้ำในไร่มันสำปะหลังสามารถให้ผลผลิตหัวสด ไม่ต่ำกว่า 10 ตันต่อไร่ ที่มา : ภาควิชาพืชไร่นา คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

  39. แผนที่แสดงพันธุ์มันสำปะหลังที่เหมาะสมในพื้นที่แผนที่แสดงพันธุ์มันสำปะหลังที่เหมาะสมในพื้นที่ พันธุ์

  40. การเลือกพันธุ์มันสำปะหลังการเลือกพันธุ์มันสำปะหลัง ตารางแสดงค่าเฉลี่ยผลผลิตมันสำปะหลังแต่ละสายพันธุ์ในพื้นที่ปลูกจังหวัดสระแก้ว

  41. การเลือกพันธุ์มันสำปะหลังการเลือกพันธุ์มันสำปะหลัง

  42. การจัดการ ระยะปลูก 1x1 ม. ให้ผลผลิตสูงสุด การเตรียมดิน ไถด้วยผาล 7 2 ครั้ง + ไถยกร่อง ให้ผลผลิต 5.02 ตัน/ไร่ การเตรียมท่อนพันธุ์ เหมาะสมที่สุดอายุ 12เดือน และ ไม่ควรเกิน 16 เดือน ไม่มีโรคและแมลง ใส่ปุ๋ยให้ถูกต้อง กำจัดวัชพืชให้ถูกต้องและทันเวลา ที่มา : ศูนย์วิจัยพืชไร่ระยอง

  43. จุดรับซื้อมันสำปะหลังจังหวัดสระแก้วจุดรับซื้อมันสำปะหลังจังหวัดสระแก้ว จุดรับซื้อมันสำปะหลัง จำนวน 36 จุด โรงงานแป้งมันสำปะหลัง 3 โรงงาน โรงงานผลิตเอทานอล2 โรงงาน ปริมาณความต้องการวัตถุดิบมันสำปะหลัง 1,951,500 ตัน/ปี

  44. สถานการณ์มันสำปะหลังจังหวัดสระแก้วสถานการณ์มันสำปะหลังจังหวัดสระแก้ว SUPPLY DEMAND พื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง 430,019 ไร่ ผลผลิตเฉลี่ย 3.4 ตัน/ไร่ ต้นทุนการผลิตไร่ละ 5,150 บาท/ไร่ โรงงานเอทานอล2โรง(พลังงานทดแทน) ต้องการผลผลิต 966,000 ตัน/ปี โรงแป้ง/ลานมัน (พืชอาหาร) ต้องการผลผลิต 985,000 ตัน/ปี 1,462,065 ตัน/ปี 1,951,000ตัน/ปี - 389,930 ตัน/ปี

  45. เกษตรกรต้นแบบ สาขามันสำปะหลังนายธนาวุฒิ ยุวรัตน์ บ้านธารนพเก้าต.หนองหว้า อ.เขาฉกรรจ์ จ.สระแก้วโทรศัพท์ 081-7446941 เกษตรกรดีเด่นสาขาทำไร่ ปี 2555 และ 2556 ผลิตมันสำปะหลังได้ไม่น้อยกว่า 15 ตันต่อไร่

  46. การยกร่อง • พันธุ์มันฯและการดูแลรักษา • การผลิตมันสะอาดโดยใช้เครื่องสับมัน การปลูกมันฯโดยใช้ระบบน้ำ การไถระเบิดดินดาน

  47. R(Remote Sensing) = การสื่อสารระยะไกล ช่องทางสื่อสาร

  48. C(Community Participation) สำนักงานเกษตรจังหวัด สำนักงานอุตสาหกรรมจังหวัด ระดมความร่วมมือหน่วยงานภาคี ในการพัฒนา “ มันสำปะหลัง” เมืองแหล่งพืชพลังงาน สำนักงานจังหวัด สำนักงานการค้าภายในจังหวัด สถานีพัฒนาที่ดินจังหวัด ต้นน้ำ มีการประชุมร่วมมือในหลักวิชาการในการผลิตมันสำปะหลังให้แก่เกษตรกรและงบประมาณสนับสนุน สำนักงานพาณิชย์จังหวัด • ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรปราจีน กลางน้ำ มีการประสานงานการจัดการรวมกลุ่มเกษตรกร แปรรูปผลผลิต โครงการชลประทานจังหวัด สำนักงานสหกรณ์จังหวัด ปลายน้ำ มีการจัดการตลาดรองรับผลผลิต

  49. F(SpecificField Service) = การกำหนดเป้าหมายการพัฒนา การพัฒนาการผลิตมันสำปะหลัง เพิ่มผลผลิต 3.4 5 ตัน/ไร่ เพิ่มรายได้

More Related