1 / 1

ครีมส ครับถั่วผสมสาร สกัดไลโคพีน จากมะเขือเทศ

ครีมส ครับถั่วผสมสาร สกัดไลโคพีน จากมะเขือเทศ Scrub Peanut Cream Mixed by Lycopene Extraction form Tomato. กิตติญา ศุภจัตตุรัส , วีรยา วัชระ วรรณ ชัย, ผศ. ชูศรี ไพศาลอุดมศิลป์ , ดร . กนกพร บุญทรง , รัฐ พล หงส์เกรียงไกร

maik
Télécharger la présentation

ครีมส ครับถั่วผสมสาร สกัดไลโคพีน จากมะเขือเทศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ครีมสครับถั่วผสมสารสกัดไลโคพีนจากมะเขือเทศครีมสครับถั่วผสมสารสกัดไลโคพีนจากมะเขือเทศ Scrub Peanut Cream Mixed by Lycopene Extraction form Tomato กิตติญาศุภจัตตุรัส, วีรยา วัชระวรรณชัย, ผศ.ชูศรี ไพศาลอุดมศิลป์,ดร.กนกพร บุญทรง, รัฐพล หงส์เกรียงไกร สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลกรุงเทพ E-mail : rattaponh@hotmail.com Introduction Results ในช่วงหลายปีที่ผ่านมากระแสความตื่นตัวเรื่องการดูแลสุขภาพด้วยผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ เป็นที่นิยมอย่างยิ่ง ซึ่งผลิตภัณฑ์จากสมุนไพรและผักผลไม้ในรูปแบบต่าง ๆ โดยเฉพาะมะเขือเทศจัดเป็นแหล่งที่ดีของสารต้านอนุมูลอิสระตามธรรมชาติอย่างมากมาย พร้อมทั้งสครับคือการขัดหรือถูเพื่อทำความสะอาดขจัดสิ่งสกปรกที่อุดตันตามรูขุมขนรวมทั้งเซลล์ผิวเก่าหรือเซลล์ผิวชั้นนอกที่ตายแล้วให้สามารถหลุดออกได้เร็วขึ้นด้วยถั่วเขียวและถั่วลิสงจึงช่วยเผยผิวให้แลดูสดใสมีชีวิตชีวาและสามารถรับอาหารผิวที่มีประโยชน์ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ รูปที่ 1 สัญญาณของสารสกัดไลโคพีนจากมะเขือเทศที่วัดโดยเครื่องฟูเรียร์ทรานสฟอร์มอินฟราเรดสเปกโตรมิเตอร์ รุ่น Thermo Sciencetific Nicolet 6007 Objectives • สกัดสารไลโคพีนจากผลมะเขือเทศพันธุ์สีดา • ตรวจสอบสารสกัดไลโคพีน • ผลิตภัณฑ์สครับที่มีส่วนผสมไลโคพีนของถั่วทั้ง 2 ชนิด ขั้นตอนการสกัดไลโคพีนจากมะเขือเทศ วิธีการทำสครับถั่ว Methodology รูปที่ 2 แผนภูมิวงกลมแสดงเพศ และช่วงอายุของผู้ทดสอบความพึงพอใจของผลิตภัณฑ์ ขั้นตอนการทำครีมสครับถั่วผสมไลโคพีน ขั้นตอนการทำครีมสครับถั่วผสมไลโคพีน (ต่อ) รูปที่ 3 ค่าเฉลี่ยความพึงพอใจของผู้ทดสอบผลิตภัณฑ์ทั้งสองชนิดจากหัวข้อการประเมินทั้งแปดข้อ รูปที่ 4 ค่าความเป็นกรดด่างของผลิตภัณฑ์ที่ผลิตได้ตามมาตรฐานครีมบำรุงผิว Conclusions References - การทดลองศึกษาวิธีการสกัดสารไลโคพีนจากผลมะเขือเทศพันธุ์สีดาโดยใช้วิธีการสกัดอย่างง่ายด้วยน้ำมันรำข้าวเป็นตัวสกัดแล้วนำมาตรวจด้วยเครื่อง FT-IR เพื่อดูหมู่ฟังก์ชันของไลโคพีน ปรากฏว่าหมู่ฟังก์ชันที่ได้สามารถยืนยันได้ว่าสารที่ได้เป็นสารไลโคพีน - เปรียบเทียบประสิทธิภาพของสครับถั่วทั้ง 2 ชนิด คือถั่วเขียวและถั่วลิสง ผลการประเมินที่ได้ คือผู้ใช้มีความพึงพอใจกับสครับถั่วเขียวมากกว่าสครับถั่วลิสง - ค่า pH ของผลิตภัณฑ์ที่ได้อยู่ในช่วง 6.0 – 6.5 ตามมาตรฐานครีมบำรุงผิว [1] M. a. D. L. d. C. Jannat M. Rolda´n-Gutie´rrez. 2007. Lycopene The need for better methods for characterization and determination.pp. 163-170. [2] G. H.1997.The Potential Role of Lycopene for Human Health.vol. 16, pp. 109-126. [3] B. L. Colditz GA, Lipnick RJ.1985.Increased green and yellow vegetable intake and lowered cancer deaths in an elderly population.pp. 32-36. [4] e. a. Giovannucci E.1995. Intake of crotenoids and retinol in relation to risk of prostate cancer.pp. 1767-1776. [5] "FT-IR explained," 2 เมษายน 2546. [6] T. Boon. 2001.Fourier transform infrared spectroscopy, Perkin Elmer instruments. [7] D. Skoog, Hollel, JF.,andNieman TA. 1998. Principles of instrumental analysis. 5th ed. Philadelphia Saunders College Publishers. p. 405.

More Related