1 / 25

การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ กศน.

การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ กศน. อัญชลี ธรรมะวิธีกุล ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ. เนื้อหาสาระ. ความสำคัญ ความหมาย ขอบเขตในการทำวิจัย กระบวนการทำวิจัย. ความสำคัญ. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม ( ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545

Télécharger la présentation

การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ กศน.

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ กศน. อัญชลี ธรรมะวิธีกุล ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญ

  2. เนื้อหาสาระ • ความสำคัญ • ความหมาย • ขอบเขตในการทำวิจัย • กระบวนการทำวิจัย

  3. ความสำคัญ • พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่2) พ.ศ. 2545 • มาตรา 24(5) การจัดกระบวนการเรียนรู้สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดำเนินการส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศสภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอำนวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้รวมทั้งสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ผู้สอนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกัน จากสื่อการเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการประเภทต่าง ๆ • มาตรา 30 กำหนดให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ รวมทั้งการส่งเสริมให้ผู้สอนวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษา

  4. ความสำคัญ(ต่อ) • การใช้การวิจัยในกระบวนการเรียนรู้ • การวิจัยพัฒนาการเรียนรู้ • การวิจัยพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา

  5. ความหมาย • การวิจัย (Research) หมายถึง กระบวนการค้นคว้าหาข้อมูล หาคำตอบ การแก้ปัญหา โดยวิธีการที่เป็นระบบ หรือวิธีการทางวิทยาศาสตร์ หรือวิธีการที่เชื่อถือได้ • การวิจัยกลุ่มเรียน คือกิจกรรมที่เกิดขึ้นระหว่างครูและผู้เรียนในขณะจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เป็นกิจกรรมเพื่อหาวิธีการแก้ปัญหา นำไปทดลองใช้จนได้ผล และพัฒนาเป็นนวัตกรรม สามารถนำไปเผยแพร่ได้

  6. ลักษณะการวิจัยในกลุ่มเรียนลักษณะการวิจัยในกลุ่มเรียน • เป็นการวิจัยจากปัญหาที่เกิดขึ้นในกลุ่มเรียนเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ • ทำการวิจัยเพื่อนำผลวิจัยไปพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ • ทำการวิจัยควบคู่กับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้

  7. แนวคิดการวิจัยกลุ่มเรียนแบบง่ายแนวคิดการวิจัยกลุ่มเรียนแบบง่าย • เป็นการพัฒนาผู้เรียนอย่างเป็นระบบ เชื่อถือได้ • ดำเนินการในสภาพการทำงานตามปกติของครูโดยครูเป็นผู้วิจัย

  8. หลักการการวิจัยกลุ่มเรียนหลักการการวิจัยกลุ่มเรียน • เป็นกระบวนการแก้ปัญหา และพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยมีเป้าหมายที่สำคัญคือ การพัฒนาผู้เรียน • การวิจัยในกลุ่มเรียน มุ่งแก้ปัญหาที่เป็นปัญหาที่เกิดจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในกลุ่มเรียน • การวิจัยเพื่อสร้างและพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน และพัฒนานวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา และองค์ความรู้ในศาสตร์สาขาต่าง ๆ

  9. ขอบเขตการทำวิจัยในกลุ่มเรียนขอบเขตการทำวิจัยในกลุ่มเรียน • ใช้ศึกษาในกลุ่มเรียนใดกลุ่มเรียนหนึ่งและมีเป้าหมายคือการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ • เป็นการวิจัยโดยครูในกลุ่มเรียนกับผู้เรียนเพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในกลุ่มเรียนที่ครูรับผิดชอบ

  10. กระบวนการจัดทำการวิจัยในกลุ่มเรียนกระบวนการจัดทำการวิจัยในกลุ่มเรียน • การวิเคราะห์ปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ • การศึกษาแนวคิด ทฤษฎี งานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง • การพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา • การออกแบบการทดลอง • การสร้างและพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล • การทดลอง รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปผลข้อมูล • การเขียนรายงานการวิจัยในกลุ่มเรียน • การนำผลการวิจัยไปใช้

  11. 1. การวิเคราะห์ปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ • ความหมายของปัญหา ปัญหา คือความแตกต่างระหว่างสิ่งที่คาดหวังหรือผลที่ต้องการให้เกิด • ที่มาของปัญหาการวิจัยในกลุ่มเรียน มาจากสภาพการปฏิบัติงานของครู เช่น • สภาพการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ • การใช้สื่อประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ • วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ใช้ในวิชาต่าง ๆ • พฤติกรรมของผู้เรียนที่เป็นปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ • ผลสัมฤทธิ์ตามจุดประสงค์ในรายวิชา

  12. ตัวอย่างการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบผังก้างปลา (The Fish Bone) สาเหตุใหญ่ สาเหตุใหญ่ สาเหตุย่อย ๆ สาเหตุย่อย สาเหตุย่อย สาเหตุย่อย ๆ สาเหตุย่อย ๆ ข้อความปัญหา สาเหตุย่อย ๆ สาเหตุย่อย ๆ สาเหตุย่อย สาเหตุย่อย สาเหตุย่อย ๆ สาเหตุใหญ่ สาเหตุใหญ่

  13. 2. การศึกษาแนวคิด ทฤษฎี งานวิจัย ที่เกี่ยวข้อง • เพื่อให้การวิจัยมีความเชื่อมโยงกับทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง • เป็นการยืนยันความต่อเนื่องทางวิชาการ • ทำให้ได้เทคนิคในการแก้ปัญหาที่สอดคล้องกับหลักการ

  14. 3. การพัฒนานวัตกรรมทางการศึกษา • นวัตกรรม (Innovation) หมายถึง แนวความคิด การปฏิบัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ที่ยังไม่เคยมีใช้มาก่อน หรือเป็นการพัฒนาดัดแปลงจากของเดิม • นวัตกรรมทางการศึกษา (Educational innovation) หมายถึง นวัตกรรมที่จะช่วยให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็ว มีประสิทธิ ผลสูงกว่าเดิม

  15. ประโยชน์ของนวัตกรรมทางการศึกษาประโยชน์ของนวัตกรรมทางการศึกษา • ช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ได้เร็วขึ้น • ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจบทเรียนเป็นรูปธรรม • ช่วยให้บรรยากาศการเรียนรู้สนุกสนาน • ช่วยให้บทเรียนน่าสนใจ • ช่วยลดเวลาในจัดกิจกรรมการเรียนรู้ • ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย

  16. ประเภทของนวัตกรรมทางการศึกษาประเภทของนวัตกรรมทางการศึกษา ประเภทของนวัตกรรมทางการศึกษา สื่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เทคนิคการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อสิ่งพิมพ์ - เอกสารประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ - บทเรียนสำเร็จรูป - ชุดการสอน/ชุดการเรียน - รายงานการศึกษาค้นคว้า - รายงานโครงการ - ฯลฯ สื่อโสต - ภาพยนตร์ วีดิทัศน์ - สไลด์ แผ่นใส - คอมพิวเตอร์ช่วยสอน - เทปเพลง เทปเสียง - หุ่นจำลอง - ฯลฯ - การเรียนรู้ด้วยการพบกลุ่ม - การเรียนรู้ด้วยตนเอง - การเรียนรู้ด้วยการจัดชั้นเรียน - การเรียนรู้ด้วยการสอนเสริม - การเรียนรู้ด้วยการทำโครงการ - การเรียนรู้โดยการทำกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) - ฯลฯ

  17. ลักษณะของนวัตกรรมทางการศึกษาที่ดีลักษณะของนวัตกรรมทางการศึกษาที่ดี • ตรงกับความจำเป็นของสถานการณ์การจัดการศึกษา • มีความน่าเชื่อถือและเป็นไปได้ที่จะแก้ปัญหาในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ • สามารถนำไปใช้ได้จริงในสถานการณ์จริง • มีผลการพิสูจน์เชิงประจักษ์ว่าได้ทดลองในสถานการณ์จริงแล้ว

  18. กระบวนการสร้างนวัตกรรมทางการศึกษากระบวนการสร้างนวัตกรรมทางการศึกษา กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ กำหนดกรอบแนวคิดของกระบวนการเรียนรู้ สร้างต้นแบบนวัตกรรม ทดลองใช้นวัตกรรม NO YES เผยแพร่นวัตกรรม

  19. การออกแบบการทดลอง • หมายถึง การวางแผนเพื่อสร้างนวัตกรรมโดยนำไปทดลองใช้ในสถานการณ์จริง แล้วเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อประเมินนวัตกรรมนั้นว่าสามารถแก้ปัญหาที่มีอยู่ หรือสามารถพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้หรือไม่ • ความสำคัญของการออกแบบการทดลอง เป็นการวางแผนกำหนดวิธีการและเทคนิคในการทดลอง กำหนดไว้ล่วงหน้า อาจเกิดปัญหาระหว่างดำเนินการทดลอง หรือภายหลังดำเนินการทดลอง

  20. 5. การสร้างและพัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล • การสอบ • การสอบถาม • การสังเกต

  21. 6. การทดลอง รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปผลข้อมูล แบบสอบถาม • ข้อมูลที่มีระดับการวัด • นามบัญญัติ • เรียงลำดับ • อันตรภาค • อัตราส่วน ผลการวิเคราะห์ แบบทดสอบ เลือกใช้สถิติในการวิเคราะห์ แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต

  22. 7. การเขียนรายงานการวิจัยในกลุ่มเรียน • ส่วนนำ • ปกนอกปกใน บทคัดย่อ คำนำ สารบัญ • ส่วนเนื้อเรื่อง • บทที่ 1 บทนำ • บทที่ 2 ชื่อบท วรรณคดีที่เกี่ยวข้อง หรือ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หรือ แนวคิด ทฤษฎีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง • บทที่ 3 วิธีการดำเนินการวิจัย • บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล • บทที่ 5 บทสรุป อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ • ส่วนอ้างอิง • การอ้างอิงในเนื้อเรื่อง บรรณานุกรมภาคผนวก

  23. 8. การนำผลการวิจัยไปใช้ • นำไปใช้ในการพัฒนา ปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ • นำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ • นำไปใช้ในการพัฒนาวิชาชีพ

  24. สรุปขั้นตอนการดำเนินการวิจัยในกลุ่มเรียนสรุปขั้นตอนการดำเนินการวิจัยในกลุ่มเรียน วิเคราะห์ปัญหาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ พิจารณาผลจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในกลุ่มเรียน • ศึกษาแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องนำปัญหามาเชื่อมโยงกับทฤษฎีและหลักการต่าง ๆ • สร้าง/พัฒนานวัตกรรม • วางแผนการวิจัย • กลุ่มผู้เรียนที่ต้องได้รับการแก้ปัญหา • วิธีการและเครื่องมือ • การรวบรวมข้อมูล • การวิเคราะห์ข้อมูล กำหนดวิธีการที่จะแก้ปัญหาหรือพัฒนาในเรื่องนั้น ๆ อย่างมีเหตุผล ดำเนินการตามวิธีการ ขั้นตอนที่กำหนด และรวบรวมข้อมูล ผลการวิเคราะห์ข้อมูล และสรุปผล • ชื่อเรื่อง/ประเด็นที่ทำการวิจัย • ที่มาของปัญหา หรือสิ่งที่ต้องการพัฒนา • เป้าหมายของการวิจัย • วิธีการหรือขั้นตอนสำคัญของการแก้ปัญหาหรือการพัฒนา • ผลของการแก้ไขหรือพัฒนา • ข้อเสนอแนะ เขียนรายงานการวิจัย

  25. สวัสดี

More Related