1 / 53

การพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทย

การพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทย. รศ.ดร.ชนินทร์ มีโภคี ศูนย์ศึกษาความร่วมมือระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 21 มิถุนายน 2556. หัวข้อ. 1. ความหมายของ Industrialization 2. กระบวนการ Industrialization ของโลก 3. กระบวนการ Industrialization ของไทย 4. ผลของ Industrialization.

maj
Télécharger la présentation

การพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทยการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศไทย รศ.ดร.ชนินทร์ มีโภคี ศูนย์ศึกษาความร่วมมือระหว่างประเทศ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 21มิถุนายน 2556

  2. หัวข้อ • 1. ความหมายของ Industrialization • 2. กระบวนการ Industrialization ของโลก • 3. กระบวนการ Industrialization ของไทย • 4. ผลของ Industrialization

  3. Industrialization กระบวนการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นจากการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทำให้โลกเปลี่ยนแปลงจากการผลิตทางการเกษตรเพื่อยังชีพ มาเป็นการผลิตสินค้าที่พัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งผลให้ทัศนะคติที่มีต่อธรรมชาติเปลี่ยนแปลงไป

  4. การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 1 1. ในช่วงปลายศตวรรษที่ 18 และต้นทศวรรษที่ 19 ประเทศในยุโรป โดยเริ่มจากอังกฤษ ได้พัฒนาเทคโนโลยีการเกษตร (British Agricultural Revolution) มีการใช้เครื่องทุ่นแรงทางการเกษตรมากขึ้น เครื่องจักรไอน้ำ (James Watt, 1770s) 2.การพัฒนาการใช้พลังงานถ่านหิน 3.เครื่องจักรไอน้ำ • การพัฒนาการคมนาคม • (เรือกลไฟ, Fitch 1787) • (รถไฟ, Stephenson, 1829) • เครื่องจักร • อุตสาหกรรม 4.การใช้ประโยชน์จากสินแร่ เหล็ก 5.ทำงานที่บ้านหรือร้าน โรงงาน

  5. เครื่องจักรไอน้ำ

  6. G. Stephenson (1816)

  7. First steam engine ship crossed Pacific

  8. First car “Gurney”(England,1827)

  9. การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 2 (ปลายศตวรรษที่ 19) การใช้พลังงานไฟฟ้า การใช้พลังงานจากน้ำมันและเครื่องยนต์สันดาปภายใน (Karl Benz, 1879) การใช้ระบบสายพานในการผลิต (Ford, 1913)

  10. 1894 Mercedes

  11. Ford Assembly Line (1913)

  12. Ford Model T (1908-1927)First Affordable automobile

  13. Washing Machine (1910)

  14. การปฏิวัติอุตสาหกรรมครั้งที่ 3

  15. Industrialization New World Western World Far East การค้า อาณานิคม การค้า อาณานิคม USA (1800’s) Japan (1870s) เสือเอเชีย (1960s)

  16. Colonialism

  17. Colonialism (1914)

  18. Industrializationของไทย • 1. การเปิดประเทศ 2393 - 2460 • 2. เศรษฐกิจชาตินิยม 2470 - 2490 • 3. อุตสาหกรรมทดแทนการนำเข้า 2500 - 2528 • 4. อุตสาหกรรมเพื่อการส่งออก 2528 - 2538 • 5. ฟองสบู่แตก 2539 - 2540 • 6. ปัจจุบัน

  19. การเข้ามาของชาติตะวันตก (2393 - 2460) • 1. หัตถอุตสาหกรรมก่อนสนธิสัญญาบาวริ่ง • แปรรูปอาหาร สิ่งทอ เครื่องปั้นดินเผา เครื่องเงินเครื่องทอง • 2. สนธิสัญญาบาวริ่ง • การเปิดเสรีการค้า ด้วยภาษีนำเข้าร้อยละ 3 • สินค้าอุตสาหกรรมนำเข้าจากต่างชาติ • สินค้าทุนนำเข้า โรงสีไฟ กิจการส่งออกข้าว • การลงทุนจากต่างประเทศด้านทรัพยากร ไม้สัก ดีบุก • รัฐบาลขาดรายได้ หันมาขึ้นภาษีในประเทศ • 3. พ.ศ. 2469 ยกเลิกสัญญาบาวริ่ง เพิ่มอัตราภาษีนำเข้า

  20. เรือสินค้า

  21. สนธิสัญญาบาวริ่ง • กับสมัยรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 4 • สาระสำคัญของสนธิสัญญาบาวริงซึ่งมีผลกระทบต่อเศรษฐกิจ และการเมืองไทย คือ ข้อตกลงว่าด้วยสิทธิสภาพนอกอาณาเขต ซึ่งทำให้ไทยต้องเสียเอกราชด้านตุลาการ กล่าวคือ คนอังกฤษจะต้องขึ้นต่อกงสุลอังกฤษ และถ้าคนอังกฤษมีข้อพิพาทคนไทย กงสุลอังกฤษกับพนักงานฝ่ายไทยจะร่วมกันตัดสินคดี ข้อตกลงว่าด้วยการค้า และการเก็บภาษีขาเข้าและขาออก ทำให้ไทยต้องยกเลิกการผูกขาดการค้าโดยพระคลังสินค้า คนอังกฤษสามารถทำการซื้อขายในประเทศไทยได้โดยเสรี โดยไม่ต้องผ่านกรมพระคลังสินค้า การเก็บภาษีขาเข้าให้เก็บในอัตราร้อยละ 3 ของมูลค่าสินค้านำเข้า และภาษีขาออกก็ให้เป็นไปตามอัตราที่กำหนดไว้ท้ายสนธิสัญญา รัฐบาลไทยไม่มีอิสระในการกำหนดอัตราภาษีศุลกากร รวมทั้งการแก้ไขข้อความใด ๆ ในสนธิสัญญาจะต้องได้รับการยินยอมจากคู่สัญญาก่อน

  22. Bowring Treaty

  23. เศรษฐกิจชาตินิยม (2470 - 2490) • 1. การปฏิวัติ 2475 • 2. เศรษฐกิจชาตินิยม ป.พิบูลสงคราม • จำกัดการประกอบอาชีพของคนต่างด้าว • อุตสาหกรรมรัฐวิสาหกิจ (86 แห่ง) • คุ้มครองอุตสาหกรรมภายในประเทศ (กำแพงภาษี) • พัฒนาอุตสาหกรรม • 3. สัดส่วนของอุตสาหกรรมใน GDP เท่ากับร้อยละ 13 ในปี 2503

  24. อุตสาหกรรมเพื่อทดแทนการนำเข้า (2500 - 2528) • 1. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ • 2. นโยบายคุ้มครองอุตสาหกรรมทารกที่เป็น อุตสากรรมปลายน้ำ • 3. นโยบายพัฒนาอุตสาหกรรมแรงงานราคาถูก • 4. สัดส่วนของอุตสาหกรรมใน GDP เท่ากับ ร้อยละ 22 ในปี 2527

  25. นโยบายพัฒนาอุตสาหกรรมแรงงานราคาถูกนโยบายพัฒนาอุตสาหกรรมแรงงานราคาถูก • 1. มีอุปทานแรงงานราคาถูกมากพอ • 2. ค่าครองชีพของแรงงานต่ำพอ • การเก็บภาษีส่งออกสินค้าเกษตร เช่น พรีเมี่ยมข้าว ช่วยลดราคาข้าวในประเทศให้ต่ำกว่าราคาตลาดโลก • การพัฒนาอุตสาหกรรมแบบลงโทษภาคเกษตร

  26. อุตสาหกรรมเพื่อการส่งออกและเติบโตแบบก้าวกระโดด (2528 - 2538) • 1. Plaza Accord และการลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศ • 2. ประเทศไทยเป็นฐานการผลิตสินค้าอุตสาหกรรมที่เน้นการใช้แรงงานฝีมือราคาถูกของต่างชาติ • 3. การส่งออกภาคอุตสาหกรรมขยายตัวอย่างรวดเร็ว จากร้อยละ 24.7 ในช่วงปี 2527 - 28 เป็นร้อยละ 30.7 ในปี 2529 - 33 ในขณะที่การส่งออกสินค้าเกษตร ขยายตัวร้อยละ 6.5 และ 5.8 ในช่วงเวลาเดียวกัน • 4. ปี 2538 เป็นปีแรกที่ส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมมากกว่าเกษตร • 5. สัดส่วนมูลค่าการส่งออกเกษตร จากร้อยละ 38 ในปี 2528 เป็นร้อยละ 11.4 ในปี 2538 ขณะที่สินค้าอุตสาหกรรมจากร้อยละ 49.5 ในปี 2528 เป็น 81.9 ในปี 2538

  27. Plaza Accord (1985) • เป็นการตกลงร่วมของ 5 ประเทศ ได้แก่ ฝรั่งเศส เยอรมัน ญี่ปุ่น สหรัฐอเมริกา และ อังกฤษ ที่โรงแรม Plaza ในเมือง New York • 5 ประเทศ ได้ตกลงร่วมกันที่จะลดค่าเงินดอลล่าร์ และขึ้นค่าเงินเยนและเงินมาร์ค โดยการแทรกแซงตลาดอัตราแลกเปลี่ยน • เงินเยนที่สูงขึ้น ทำให้การส่งออกของญี่ปุ่นมีปัญหา จำต้องไปลงทุนเพื่อการส่งออกในประเทศที่มีต้นทุนถูกกว่า • ประเทศไทย เป็นเป้าหมายหนึ่งที่เป็นแหล่งลงทุนของญี่ปุ่น

  28. Automobile makers

  29. ฟองสบู่แตก (2539 - 2540) • 1. การส่งออกสินค้าอุตสาหกรรมลดลง (ร้อยละ -0.1) ในปี 2539 ปัจจัยภายนอก วัฏจักรเศรษฐกิจโลก ปัจจัยภายใน โครงสร้างอุตสาหกรรมไทยล้าหลัง • 2. ฟองสบู่แตกในปี 2540 • หนี้ต่างประเทศร้อยละ 40 ของ GDP • หนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (NPL) สูง • เงินทุนไหลออกนอกประเทศ  ค่าเงินบาท

  30. สภาวะอุตสาหกรรมไทยในปัจจุบันสภาวะอุตสาหกรรมไทยในปัจจุบัน • 1. โครงสร้างผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ • 2. โครงสร้างการจ้างงาน • 3. โครงสร้างการค้าระหว่างประเทศ • 4. บทบาทของบริษัทต่างชาติอุตสาหกรรมไทย

  31. โครงสร้างผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) หน่วย: ร้อยละ ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

  32. ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) (ร้อยละ) ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

  33. GDP (Millions of Baht)

  34. โครงสร้างการจ้างงาน หน่วย:ล้านคน ที่มา: ธนาคารแห่งประเทศไทย

  35. โครงสร้างการส่งออก สัดส่วน: ร้อยละ ที่มา: ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร

  36. สินค้าส่งออกสำคัญ 5 รายการแรกของไทย  หน่วย : ร้อยละ ที่มา : moc.go.th

  37. ตลาดส่งออกสำคัญของไทยตลาดส่งออกสำคัญของไทย ที่มา : moc.go.th

  38. ตลาดส่งออกสำคัญของไทยตลาดส่งออกสำคัญของไทย

  39. โครงสร้างสินค้านำเข้าของไทยโครงสร้างสินค้านำเข้าของไทย สัดส่วน: ร้อยละ ที่มา : moc.go.th

  40. สินค้านำเข้าสำคัญ 5 รายการแรกของไทย  สัดส่วน: ร้อยละ ที่มา : moc.go.th

  41. แหล่งนำเข้าสำคัญของไทย ปี 2552 - 2555(ม.ค. - ก.ค.)แหล่งนำเข้าสำคัญของไทย ปี 2552 - 2555(ม.ค. - ก.ค.) อัตราการขยายตัว:ร้อยละ สัดส่วน:ร้อยละ

  42. แหล่งนำเข้าสำคัญของไทยแหล่งนำเข้าสำคัญของไทย

  43. บทบาทของบริษัทต่างชาติบทบาทของบริษัทต่างชาติ ที่มา : BOI.go.th

  44. บทบาทของบริษัทต่างชาติบทบาทของบริษัทต่างชาติ ที่มา : BOI.go.th

  45. บทบาทของบริษัทต่างชาติบทบาทของบริษัทต่างชาติ 1) มูลค่าและโครงสร้างการนำเข้าและการส่งออก 2) การพัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุนภายในประเทศ 3) การเผยแพร่และการกระจายเทคโนโลยี 4) ความสามารถในการแข่งขัน 5) พฤติกรรมการบริโภค

  46. ผลของการพัฒนาอุตสาหกรรมผลของการพัฒนาอุตสาหกรรม • กระบวนการโลกาภิวัตน์

  47. Globalization 1. โลกาภิวัตน์ทางเศรษฐกิจ • ระบบทุนนิยม 2. โลกาภิวัตน์ทางการเมือง • ระบบประชาธิปไตย 3. โลกาภิวัตน์ทางวัฒนธรรม • วัฒนธรรมตะวันตก

  48. Democracy Index 2010

  49. Democracy Index 2012

More Related