1 / 19

1) กลุ  มมหาวิทยาลัยวิจัยและบัณฑิตศึกษา (ผลิตดัชนีกลุ  มผลักดันประเทศสู  โลกาภิวัตน  )

การดำเนินการจัดทำ โครงการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อธิการบดี แจ้งที่ประชุม กบม. เพื่อทราบ 19 สิงหาคม 2552.

Télécharger la présentation

1) กลุ  มมหาวิทยาลัยวิจัยและบัณฑิตศึกษา (ผลิตดัชนีกลุ  มผลักดันประเทศสู  โลกาภิวัตน  )

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การดำเนินการจัดทำโครงการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติมหาวิทยาลัยเชียงใหม่อธิการบดีแจ้งที่ประชุม กบม. เพื่อทราบ19 สิงหาคม 2552

  2. “อุดมศึกษาไทยควรมีมหาวิทยาลัยกลุมตางๆ ที่สร้างผลผลิต อยางหลากหลาย และสอดคลองกับความต้องการของประเทศ” กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว15 ป ฉบับที่2 (2551-2565) 1) กลุมมหาวิทยาลัยวิจัยและบัณฑิตศึกษา • (ผลิตดัชนีกลุมผลักดันประเทศสูโลกาภิวัตน) 2) กลุมมหาวิทยาลัยเฉพาะทาง • (ผลิตดัชนีกลุมสรางสมรรถนะการผลิตดานอุตสาหกรรม) 3) กลุมมหาวิทยาลัยที่เนนระดับปริญญาตรี • (ผลิตดัชนีกลุมขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงทองถิ่นและกําลังความรู้) 4) กลุมวิทยาลัยชุมชน • (ผลิตดัชนีกลุมสรางกําลังคนภาคการผลิตจริงในทองถิ่น)

  3. โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาและ การพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแหงชาติ • โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษา ~ 12,000 ลานบาท และการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแหงชาติ • โครงการพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแหงชาติ ~ 9,000 ลานบาท • โครงการส่งเสริมการวิจัยในอุดมศึกษาทั้งระบบ ~ 3,000 ลานบาท

  4. สาระสำคัญของการประเมินโครงการสาระสำคัญของการประเมินโครงการ • การจัดอันดับมหาวิทยาลัยโลกใน 400 อันดับ หรืออันดับที่ดีขึ้น กว่าเดิม (THE-QS) –มช. อยู่ในอันดับ 401-500 • การที่มหาวิทยาลัยมีกลุ่ม/ศูนย์วิจัยที่สามารถระบุด้วยผลงานว่าเป็น อันดับ 1ในประเทศ อย่างน้อย 3กลุ่ม/ศูนย์ในระยะเวลา 3ปี โดยจะ ต้องมีผลงานตีพิมพ์ • ในวารสารนานาชาติที่มีค่าผลกระทบการอ้างอิงสูง ให้มากที่สุด • นำไปสู่การจดสิทธิบัตร • ที่ทำให้นักวิจัยได้รับการยอมรับในวงวิชาการระดับชาติและนานาชาติ เช่น Invited Speaker/ Committee/ Editor/ Editorial Board/ Reviewer/ Awards • ที่ตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ • ผลิตกำลังคนระดับปริญญาเอก และหลังปริญญาเอก

  5. มช. อยู่ในอันดับ 3 ของประเทศ มีกำลังการผลิตผลงานระดับนานาชาติจากฐานข้อมูล Scopus 2199ชิ้นใน 5 ปี

  6. - สูงสุดด้านการแพทย์

  7. สิ่งที่มหาวิทยาลัยดำเนินการแล้ว • นำส่งแบบเสนอข้อมูลคัดกรองเบื้องต้น โครงการพัฒนา • มหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ พ.ศ. 2553-2555 • เป็นการรวบรวมข้อมูลพื้นฐานด้านศักยภาพการวิจัยของมหาวิทยาลัย • โดยใช้ข้อมูลจากฐานข้อมูล SCOPUS (www.scopus.com) • นำส่งเมื่อวันที่ 13 กรกฎาคม 2552 • สกอ. แจ้งผลตอบรับให้เสนอโครงการได้เมื่อ 3 ก.ค. 2552

  8. มหาวิทยาลัยได้จัดทำ • แผนปฏิบัติการหลัก(Action Plan) • ทิศทางการวิจัยที่มีอัตลักษณ์อย่างแท้จริง • แผนปฏิบัติการเพื่อพัฒนาโครงการวิจัยริเริ่มแบบมุ่งเป้า(Targeted Research Initiatives)อย่างน้อย 3โครงการ โดยกลุ่มวิจัยที่มีความพร้อมด้านบุคลากร โครงสร้างพื้นฐาน และทุนวิจัยเดิม ตอบสนองต่อโจทย์ของประเทศ ทั้งในภาคการผลิต เศรษฐกิจ และสังคม งบฯ ของโครงการฯ รวมทั้งงบฯ วิจัย ครุภัณฑ์ พัฒนาบุคลากร และงบฯ บริหารจัดการ

  9. กลุ่มวิจัยที่มหาวิทยาลัยคัดเลือกให้เสนอโครงการและชื่อผู้ประสานงานกลุ่มวิจัยที่มหาวิทยาลัยคัดเลือกให้เสนอโครงการและชื่อผู้ประสานงาน กลุ่มวิจัยบูรณาการเพื่อพัฒนาศักยภาพในการวินิจฉัย การรักษา และการป้องกัน โรคเอดส์/โรคติดเชื้อเอชไอวี และโรคติดเชื้อฉวยโอกาสในผู้ป่วยโรคเอดส์ เพื่อเป็นต้นแบบสำหรับประเทศที่มีทรัพยากรจำกัด (รศ.นพ.สุวัฒน์ จริยาเลิศศักดิ์) กลุ่มวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสำหรับโรคในภูมิภาค (รศ.นพ. พงษ์รักษ์ ศรีบัณฑิตมงคล) กลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านวัสดุศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุ (รศ.ดร.สัมพันธ์ สิงหราชวราพันธ์) กลุ่มวิจัยด้านพลังงานสะอาดและการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน (ศ.ดร.ทนงเกียรติ เกียรติศิริโรจน์) กลุ่มวิจัยมูลค่าเพิ่มของการผลิตและแปรรูปพืชและสัตว์เศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (รศ.ดร.สัญชัย จตุรสิทธา และ ผศ.ดร.ชรินทร์ เตชะพันธุ์) มีเพียงกลุ่ม HIV เท่านั้นที่สามารถแข่งขันได้ในระดับศูนย์วิจัยแห่งชาติ

  10. มหาวิทยาลัยกำลังดำเนินการตรวจสอบมหาวิทยาลัยกำลังดำเนินการตรวจสอบ 1. ผลงานปี 2004-2008 ของคณาจารย์ที่มีรายชื่ออยู่ใน 5 กลุ่มที่เสนอโครงการ 2. ความซ้ำซ้อนของรายชื่อคณาจารย์ในแต่ละกลุ่ม เพื่อประเมินว่าจำนวนโครงการ ย่อยของผู้ที่มีรายชื่อซ้ำนั้น มีจำนวนเหมาะสมหรือไม่โดยเทียบกับผลงานเดิม 3. จำนวนผลงานที่เสนอว่าจะตีพิมพ์ในแต่ละปี ตลอด 3 ปีที่ได้รับงบฯ นั้น เป็นไปได้ จริงหรือไม่ เมื่อเทียบกับการเพิ่มขึ้นของผลงานเดิมแต่ละปี ใน 5 ปีที่ผ่านมา 4. จำนวนผลงาน ต่อจำนวนนักวิจัย 5 งบฯ ลงทุนในโครงการของแต่ละกลุ่ม ต่อจำนวนผลงานที่ผลิตได้ หรือ ต่อจำนวน จำนวนผลงานที่คณาจารย์ corresponding author ต่อปี 6. จำนวนผลงานที่คณาจารย์เป็นcorresponding author ที่เสนอผลิต ต่อจำนวน ผลงานลักษณะเดียวกันที่เคยผลิตได้ ต่อปี ผลงาน คิดการตีพิมพ์ในวารสารวิชาการนานาชาติที่อยู่ในฐานฯ scopus

  11. มหาวิทยาลัยได้จัดทำแผนปฏิบัติการประกอบ ดังนี้ • แผนปฏิบัติการประกอบ • แผนการปรับปรุงหรือพัฒนาหลักสูตรนานาชาติระดับปริญญาเอก • แผนการพัฒนาระบบนักวิจัยหลังปริญญาเอก ครอบคลุม • ระบบบริหารจัดการ/ การสรรหา/ การพัฒนา/ การดูแลบุคลากรนักวิจัยในระดับหลังปริญญาเอก • แผนการส่งเสริมการพัฒนาประเทศให้เป็นศูนย์กลางการศึกษา การวิจัยและพัฒนา และการฝึกอบรมนานาชาติ • เช่น กิจกรรมความร่วมมือ เครือข่ายกับต่างประเทศ การประชุมวิชาการนานาชาติ ฯลฯ • แผนการเก็บข้อมูลและการบริหารการจัดการฐานข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ

  12. มหาวิทยาลัยและกลุ่มวิจัยได้จัดทำมหาวิทยาลัยและกลุ่มวิจัยได้จัดทำ • แผนการใช้งบประมาณ ในระยะเวลา 3ปี ซึ่งต้องไม่ครอบคลุมการสร้างตึกและอาคาร หรือจัดซื้อครุภัณฑ์ที่มีราคาสูงมาก ขอให้ใช้งบฯ มหาวิทยาลัย) โดยแผนการใช้งบแบ่งเป็น • เงินทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในการวิจัย (Research Infrastructure) สอดคล้องกับโครงการวิจัยริเริ่มแบบมุ่งเป้า (ไม่เกินร้อยละ 30) • เงินทุนวิจัย (Research Fund) แก่โครงการวิจัยแบบมุ่งเป้า (70%) อยู่ในวงเงิน 400 ล้านบาทต่อปี

  13. ดัชนีชี้วัดโครงการวิจัยแบบมุ่งเป้าแต่ละโครงการต้องนำเสนอตัวเลขย้อนหลัง(2004-2008)และตั้งเป้า (2009-2012) จำนวนบทความวิจัยในฐานข้อมูล Scopus บทความวิจัยที่เป็นผู้วิจัยหลัก Impact factor รวมต่อจำนวนบทความ ทุนวิจัยจากแหล่งทุนภายนอก ทุนจากภาคอุตสาหกรรม สิทธิบัตรในประเทศ สิทธิบัตรต่างประเทศ จำนวนอาจารย์ทำวิจัยในกลุ่ม จำนวนนักศึกษาระดับปริญญาโท จำนวนนักศึกษาระดับปริญญาเอก จำนวนนักศึกษาระดับหลังปริญญาเอก

  14. งบประมาณของกลุ่มวิจัยที่เสนอโครงการงบประมาณของกลุ่มวิจัยที่เสนอโครงการ กลุ่มวิจัยบูรณาการเพื่อพัฒนาศักยภาพในการวินิจฉัย การรักษา และการป้องกัน โรคเอดส์/โรคติดเชื้อเอชไอวี และโรคติดเชื้อฉวยโอกาสในผู้ป่วยโรคเอดส์ เพื่อเป็นต้นแบบสำหรับประเทศที่มีทรัพยากรจำกัด (ปีละ 55 ล้านบาท) กลุ่มวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสำหรับโรคในภูมิภาค (ปีละ 65 ล้านบาท) กลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านวัสดุศาสตร์และเทคโนโลยีวัสดุ (ปีละ 80 ล้านบาท) กลุ่มวิจัยด้านพลังงานสะอาดและการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน (ปีละ 75 ล้านบาท) กลุ่มวิจัยมูลค่าเพิ่มของการผลิตและแปรรูปพืชและสัตว์เศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (ปีละ 35 ล้านบาท) รวมงบฯ ของ 5 กลุ่มวิจัย 310 ล้านบาท - ต้องทำผลงานเพิ่มเป็น 1.3 เท่า มหาวิทยาลัยบริหารงบฯ 90 ล้านบาท

  15. งบฯ 90 ล้านบาท สำหรับ (1) งบวิจัย 30% • คณาจารย์ที่เป็น signature researcher คือ มีผลงานวิจัยในระดับสูงสุด 100 ลำดับแรก ที่ไม่ได้เข้าร่วมในทั้ง 5 กลุ่ม (ประมาณ 50%) แต่มีโครงการวิจัยระดับดีมาก ตีพิมพ์ได้แน่ และประสงค์จะของบฯ (มหาวิทยาลัยส่งหนังสือเชิญชวนเพิ่มเติมแล้ว) • คณาจารย์ที่อยู่ใน crossing over และmutation groups และมีผลงานที่ดีมาแล้ว จะสามารถของบฯ กลางนี้ได้ • คณาจารย์และนักวิจัยที่ได้ส่งโครงการมาแล้ว แต่ไม่สอดคล้องกับกลุ่มทั้ง 5 จะผ่านการคัดเลือกจากคณะกรรมการกลั่นกรองของมหาวิทยาลัย ถ้าอยู่ในระดับดีมาก ตีพิมพ์ได้แน่ หรือตีพิมพ์ได้บางส่วน แต่มีประโยชน์ต่อสังคมที่เห็นได้ชัดเจน เป็นรูปธรรม จะได้รับการจัดสรรจากงบฯ ม.วิจัยนี้ • โครงการนอกเหนือจากที่กล่าวข้างต้น ให้ของบฯ ปกติของมหาวิทยาลัย ทั้งนี้ การของบฯ วิจัยภายนอกมหาวิทยาลัยควรดำเนินไปตามปกติอย่างเข้มแข็ง เพราะการประเมินของ สกอ. เป็นการประเมินภาพรวมของมหาวิทยาลัย คณาจารย์และนักวิจัยทุกคนควรสร้างผลงานได้ไม่น้อยกว่าเดิม

  16. งบฯ 90 ล้านบาท สำหรับ (2) งบฯ อื่นๆ • งบฯ พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานในการวิจัย (30%) - IT, website, software สำหรับวิเคราะห์ข้อมูล, ครุภัณฑ์วิจัยนอกกลุ่ม • งบฯ บุคลากร (30%) - Chair Professor/Research Leader - Fellowship - Post-doctorate - Ph.D. • งบฯ บริหารจัดการกลาง (10%)

  17. คณะกรรมการบริหารโครงการ 7-15 คน อธิการบดี รองอธิการบดี ฝ่ายวิจัยฯ ฝ่ายแผนงานฯ ศาสตราจารย์และผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก และ ภายใน ผู้ประสานงาน 5 กลุ่ม ผู้ช่วยอธิการบดี ฝ่ายวิจัยฯ ผอ. สำนักพัฒนาคุณภาพการศึกษา สำนักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ กองแผนงาน ศูนย์บริหารงานวิจัย กำหนดให้มีคณะกรรมการที่ปรึกษาต่างประเทศ 7-15 คน ด้วย

  18. กำหนดการภายใน

  19. กำหนดการภายใน

More Related