1 / 82

กลุ่มโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ

กลุ่มโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ. อนุพันธ์ สุวรรณพันธ์. กลุ่มโรคติดต่อจากอาหารและน้ำ (เดิม). โรคบิด โรคไข้เอนเท อริค อาหารเป็นพิษ อุจจาระร่วงเฉียบพลัน อหิวาตกโรค ตับอักเสบเอ. กลุ่มโรคติดต่อจากอาหารและน้ำ (ปรับเปลี่ยน). อุจจาระร่วงเฉียบพลัน (Ac. Diarrhea) อหิวาตกโรค (Cholera)

marc
Télécharger la présentation

กลุ่มโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กลุ่มโรคติดต่อทางอาหารและน้ำกลุ่มโรคติดต่อทางอาหารและน้ำ อนุพันธ์ สุวรรณพันธ์

  2. กลุ่มโรคติดต่อจากอาหารและน้ำ (เดิม) โรคบิด โรคไข้เอนเทอริค อาหารเป็นพิษ อุจจาระร่วงเฉียบพลัน อหิวาตกโรค ตับอักเสบเอ

  3. กลุ่มโรคติดต่อจากอาหารและน้ำ (ปรับเปลี่ยน) อุจจาระร่วงเฉียบพลัน (Ac. Diarrhea) อหิวาตกโรค (Cholera) โรคค็อกซากี (Coxsackievirus Disease) ซาลโมเนลโลซิส(Salmonellosis) บิดไม่มีตัว (Shigellosis) ไข้ทัยฟอยด์ และไข้พาราทัยฟอยด์(Typoid, Paratyphoid) อาหารเป็นพิษ (Foodborne Disease) โบทูลิซึม (Botulism)

  4. อุจจาระร่วงเฉียบพลัน (Acute Diarrhea) • อาการแสดงสำคัญ – อาเจียน ไข้ มีภาวะขาดน้ำ และความผิดปกติของอิเล็คโตรไลท์(Electrolyte Imbarlances) • เชื้อสาเหตุ – Cholera, Shigellosis, Salmonellosis, Escerichia Coli (E.Coli)

  5. อุจจาระร่วงเฉียบพลัน (Acute Diarrhea) • มี 3 ประเภท • อุจจาระร่วงเป็นน้ำเฉียบพลัน (Acute Watery Diarrhea) รวมถึงอหิวาตกโรค • อุจจาระร่วงเป็นเลือดเฉียบพลัน หรือ บิด (Dysentery) สาเหตุจากเชื้อ Shigella, E.Coli • อุจจาระร่วงเรื้อรัง (Persistent Diarrhea) มีอาการติดต่อกันเกิน 14 วัน

  6. อุจจาระร่วงจากเชื้อ E.Coli มี 6 กลุ่ม 1. Enterohemorrhagic(EHEC) 2. Enterotoxigenic(ETEC) 3. Enteroinvasive(EIEC) 4. Enteropathogenic(EPEC) 5. Enteroaggregative(EAEC) 6. Diffuse-Adherent

  7. อุจจาระร่วงจากเชื้อ E.Coli 1. Enterohemorrhagic(EHEC) • เชื้อรุนแรงที่สุด • มีอาการถ่ายเหลวเป็นน้ำ อาจเป็นมูก • เชื้อสร้างสารพิษ Shiga Toxin

  8. อุจจาระร่วงจากเชื้อ E.Coli 2. Enterotoxigenic(ETEC) • ถ่ายเป็นน้ำ • ไม่รุนแรง หายได้เอง • พบมากในแถบร้อน รวมประเทศไทย

  9. อุจจาระร่วงจากเชื้อ E.Coli 3. Enteroinvasive(EIEC) • ก่อโรครุนแรงได้ ถ่ายเป็นมูกปนเลือดได้ • ทำให้ผนังลำไส้เป็นแผล • ปวดเกร็งท้องมาก • ก่อโรคได้ไม่บ่อย

  10. อุจจาระร่วงจากเชื้อ E.Coli 4. Enteropathogenic(EPEC) • ก่อโรคในเด็กเล็ก พบในประเทศกำลังพัฒนา • ถ่ายเหลวเป็นมูก ถ่ายไม่มาก แต่เรื้อรัง • เด็กขาดสารอาหารได้

  11. อุจจาระร่วงจากเชื้อ E.Coli 5. Enteroaggregative(EAEC) • ถ่ายเป็นน้ำหรือเป็นมูก • ถ่ายเรื้อรังได้ • ไม่ทราบกลไกแน่ชัด

  12. อุจจาระร่วงจากเชื้อ E.Coli มี 6 กลุ่ม 1. Enterohemorrhagic(EHEC) 2. Enterotoxigenic(ETEC) 3. Enteroinvasive(EIEC) 4. Enteropathogenic(EPEC) 5. Enteroaggregative(EAEC) 6. Diffuse-Adherent

  13. Enterohemorrhagic Strains

  14. ลักษณะโรค • ก่อโรคได้รุนแรงมากที่สุด มีอาการได้ตั้งแต่ท้องร่วง ถ่ายเหลวเป็นน้ำ ถ่ายเป็นเลือด • ทำให้ผนังลำไส้เกิดแผล • สร้างสารพิษ Shiga Toxin

  15. ลักษณะโรค Hemolytic UraemicSyndrome

  16. เชื้อก่อโรค • ในอเมริกาเหนือ 70% เป็น E. Coli O157:H7 • ในเยอรมันที่พบใน พ.ศ.2554 คาดว่าเป็น O104 • กรุ๊ปที่พบบ่อย O26, O111, O103, O45, O121

  17. เกิดแถบอเมริกาเหนือ ยุโรป ญี่ปุ่น ตอนใต้อเมริกาใต้ ตอนใต้ของแอฟริกา

  18. แหล่งรังโรค วัว ควายเป็นแหล่งรังโรคที่สำคัญ คนเป็นรังโรคและแพร่เชื้อสู่คนได้ สัตว์อื่น เช่น กวาง

  19. วิธีการแพร่เชื้อ

  20. ระยะฟักตัว รับเชื้อ ป่วย 2-10 วัน (ค่ากลาง 3-4 วัน)

  21. ระยะติดต่อของโรค • ผู้ใหญ่ประมาณ 1 สัปดาห์ • เด็ก 1/3 ประมาณ 3 สัปดาห์ ความไวต่อการรับเชื้อ • ติดเชื้อได้ทุกกลุ่ม • เด็ก <5 ปี และผู้สูงอายุ เกิด HUS ได้

  22. วิธีการป้องกัน • มาตรการป้องกัน : • รีบระบุแหล่งโรค ป้องกัน โดยเฉพาะในเด็กและ • ผู้สูงอายุ • แนะนำครอบครัวผู้ป่วยล้างมือด้วยสบู่และน้ำ • หลังเข้าห้องน้ำ และทำลายเชื้อในผ้าอ้อม ป้องกันอาหารและเครื่องดื่มปนเปื้อนเชื้อ

  23. มาตรการป้องกัน : การลดอุบัติการณ์ของโรค • จัดระบบโรงฆ่าสัตว์ลดการปนเปื้อน • ทำให้นม เนื้อสัตว์ ปราศจากเชื้อ • ลดการปนเปื้อนเนื้อสัตว์ก่อนนำมาทำอาหาร • ล้างผักและผลไม้ หากกินดิบให้ปลอกเปลือก • ล้างมือให้บ่อยและสะอาด โดยใช้สบู่ • ปรุงอาหารเนื้อ 68 C 15-16 วินาที • ใส่คลอรีนป้องกันการปนเปื้อนในน้ำ • สถานที่เลี้ยงเด็กต้องรักษาสุขวิทยา

  24. มาตรการป้องกัน : การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม • การรายงาน : ผู้ป่วย EHEC เป็นข้อกำหนดของ • หลายประเทศที่ต้องรายงาน • การแยกผู้ป่วย : ไม่ให้ปรุง ป้อน เสิร์ฟอาหาร • จนกว่าจะตรวจไม่พบเชื้อ • การทำลายเชื้อ : ในอุจจาระหรือเครื่องใช้ที่ • ปนเปื้อน

  25. มาตรการป้องกัน : การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม • การกักกัน : ไม่จำเป็น • การดำเนินการในผู้สัมผัส : ผู้สัมผัสไม่ควรปรุง • ป้อน เสิร์ฟอาหาร • การสอบสวนเพื่อหาผู้สัมผัส และแหล่งแพร่โรค • : ควรเพาะเชื้อในผู้ปรุงอาหาร ผู้ดูแลเด็กในศูนย์ • การรักษาเฉพาะ : ให้สารน้ำทดแทน

  26. มาตรการเมื่อเกิดการระบาด : • รายงานทันที เมื่อพบกลุ่มผู้ป่วย • ค้นหาพาหะที่นำเชื้อสาเหตุ • อาหารที่สงสัยต้องงดจำหน่วย • ถ้าสงสัยแหล่งน้ำให้ใช้คลอรีนหรือต้มน้ำ • ถ้าสงสัยสระว่ายน้ำ ปิดสระ ทำลายเชื้อ • ถ้าสงสัยนม ให้พาสเจอร์ไรด์ • ไม่แนะนำยาปฏิชีวนะ • ให้สุขศึกษา

  27. ความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น : • เป็นปัญหาสำคัญกรณีสุขวิทยาส่วนบุคคลไม่ดี • และสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมไม่ได้มาตรฐาน • มาตรการควบคุมโรคระหว่างประเทศ : WHO Collaborating Centres

  28. อุจจาระร่วงจากเชื้อ E.Coli มี 6 กลุ่ม 1. Enterohemorrhagic(EHEC) 2. Enterotoxigenic(ETEC) 3. Enteroinvasive(EIEC) 4. Enteropathogenic(EPEC) 5. Enteroaggregative(EAEC) 6. Diffuse-Adherent

  29. ลักษณะโรค • ถ่ายเป็นน้ำมากโดยไม่มีมูกและเลือด • ปวดท้อง คลื่นไส้ มีภาวะกรดในเลือด หมดแรง และขาดน้ำ มีไข้ต่ำ ๆ • อาการมักไม่เกิน 5 วัน

  30. เชื้อก่อโรค • ผลิตสารพิษทั้งทนและไม่ทนความร้อน • พบบ่อย ได้แก่ O6, O8, O15, O20, O25, O27, • O63, O78, O80, O114, O115, O128ac, O148, O153, O167 • ที่พบใหม่ O169:H41

  31. การเกิดโรค พบในประเทศกำลังพัฒนา

  32. แหล่งรังโรค ในคน (Species-Specific)

  33. วิธีการแพร่เชื้อ จากอาหารหรือน้ำที่ปนเปื้อน

  34. ระยะฟักตัว รับเชื้อ ป่วย 10-12 ชั่วโมง (อาจถึง 24-72 ชั่วโมง)

  35. ระยะติดต่อของโรค ตลอดช่วงที่ปล่อยเชื้อได้ ความไวต่อการรับเชื้อ มีเฉพาะซีโรทัยป์

  36. วิธีการป้องกัน • มาตรการป้องกัน : • ป้องกันเชื้อแบบ ก้นสู่ปาก (Fecal-Oral) • ให้ยา Bismuth Subsalicylate หรือ Norfloxacin • รีบรักษาทันทีเมื่อมีอาการ

  37. มาตรการป้องกัน : การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม • การรายงาน : ถ้ามีการระบาด แจ้งเจ้าหน้าที่ • การแยกผู้ป่วย : ระมัดระวังการติดเชื้อจากผู้ป่วย • และสงสัย • การทำลายเชื้อ : ในอุจจาระและเครื่องใช้ปนเปื้อน • การกักกัน : ไม่จำเป็น • การฉีดวัคซีนในผู้สัมผัส : ไม่จำเป็น • การสอบสวนโรคในผู้สัมผัส และค้นหาแหล่งโรค : • ไม่จำเป็น

  38. มาตรการป้องกัน : การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม • การรักษาเฉพาะ : ให้สารน้ำ และเกลือแร่ป้องกัน • กรณีท้องร่วงรุนแรง : ให้ Loperamideและยาปฏิชีวนะ Ciprofloxacin หรือ Norfloxacin

  39. มาตรการเมื่อเกิดการระบาด : • สอบสวนเพื่อระบุวิธีแพร่โรค • ความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น : ไม่มี • มาตรการควบคุมโรคระหว่างประเทศ : WHO Collaborating Centres

  40. อุจจาระร่วงจากเชื้อ E.Coli มี 6 กลุ่ม 1. Enterohemorrhagic(EHEC) 2. Enterotoxigenic(ETEC) 3. Enteroinvasive(EIEC) 4. Enteropathogenic(EPEC) 5. Enteroaggregative(EAEC) 6. Diffuse-Adherent

  41. ลักษณะโรค • ทำให้เกิดอุจจาระร่วงในทารก <1 ปี • ถ่ายเป็นน้ำและมีมูกปน ไข้ และขาดน้ำ

  42. เชื้อก่อโรค • พบบ่อย ได้แก่ O55, O86, O111, O119, O125, O126, O127, O28ab, O142

  43. การเกิดโรค พบในประเทศกำลังพัฒนา

  44. แหล่งรังโรค ในคน

  45. วิธีการแพร่เชื้อ จากอาหารเสริม มือไม่สะอาด แมลงสาบ

  46. ระยะฟักตัว รับเชื้อ ป่วย 9-12 ชั่วโมง

  47. ระยะติดต่อของโรค ตลอดช่วงที่ปล่อยเชื้อได้ ความไวต่อการรับเชื้อ ไม่มีหลักฐานว่าหลังเกิดโรคมีภูมิคุ้มกัน พบน้อยในเด็กดื่มนมมารดา

  48. วิธีการป้องกัน • มาตรการป้องกัน : • เลี้ยงลูกด้วยนมแม่ 4-6 เดือน • เริ่มตั้งแต่หลังคลอดทันที • แยกใช้เครื่องใช้ • ล้างมือหลังอุ้มทารก

  49. มาตรการป้องกัน : การควบคุมผู้ป่วย ผู้สัมผัส และสิ่งแวดล้อม • การรายงาน : ถ้ามีการระบาด แจ้งเจ้าหน้าที่ • การแยกผู้ป่วย : ระมัดระวังการติดเชื้อจากผู้ป่วย • และสงสัย • การทำลายเชื้อ : ในอุจจาระและเครื่องใช้ปนเปื้อน • การกักกัน : แยกเด็กที่ป่วย • การฉีดวัคซีนในผู้สัมผัส : ไม่จำเป็น • การสอบสวนโรคในผู้สัมผัส และค้นหาแหล่งโรค : • ติดตามเด็กที่ป่วย

More Related