1 / 21

การเทียบโอนผลการเรียนระดับอุดมศึกษา

การเทียบโอนผลการเรียนระดับอุดมศึกษา. หลักการและเหตุผล พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 15 การศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศัย การเทียบโอนผลการเรียนนอกระบบและตามอัธยาศัยเป็นเรื่องใหม่ทบวงฯ จึงต้องพัฒนาหลักเกณฑ์กลาง เพื่อ... เที่ยงธรรม สุจริต โปร่งใส

Télécharger la présentation

การเทียบโอนผลการเรียนระดับอุดมศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การเทียบโอนผลการเรียนระดับอุดมศึกษาการเทียบโอนผลการเรียนระดับอุดมศึกษา หลักการและเหตุผล • พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 15 • การศึกษาในระบบ • การศึกษานอกระบบ • การศึกษาตามอัธยาศัย • การเทียบโอนผลการเรียนนอกระบบและตามอัธยาศัยเป็นเรื่องใหม่ทบวงฯ จึงต้องพัฒนาหลักเกณฑ์กลาง เพื่อ... • เที่ยงธรรม • สุจริต • โปร่งใส • ตรวจสอบได้ สามารถนำผลการเรียนมาเทียบโอนได้

  2. วัตถุประสงค์ • เพื่อศึกษาระเบียบ/หลักเกณฑ์การเทียบโอนผลการเรียน ของสถาบันอุดมศึกษาไทย • เพื่อศึกษาแนวคิด หลักเกณฑ์ และวิธีการเทียบโอน ผลการเรียนนอกระบบ และตามอัธยาศัย เข้าสู่การศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษาของต่างประเทศ • เพื่อเสนอยุทธศาสตร์ในการดำเนินการเรื่องการเทียบโอน ผลการเรียนที่เหมาะสมกับสังคมไทย และสอดคล้องกับ พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542

  3. ขอบเขตการศึกษา • ศึกษาเฉพาะการเทียบโอนระดับปริญญาของสถาบันอุดมศึกษาในสังกัดทบวงฯ สถาบันราชภัฏ และสถาบันเทคโนโลยีราชมงคล • ศึกษาการเทียบโอนผลการเรียนนอกระบบและตามอัธยาศัยเข้าสู่การศึกษาในระบบ ระดับปริญญาเฉพาะของประเทศแคนาดา สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร นิวซีแลนด์ และออสเตรเลีย

  4. วิธีดำเนินการ • การเก็บรวบรวมข้อมูล • ศึกษาแนวคิด หลักเกณฑ์และวิธีการเทียบโอน ผลการเรียนของสถาบันอุดมศึกษาทั้งในและต่างประเทศจากเอกสารและ Internet • ศึกษาดูงาน เกี่ยวกับการเทียบโอนผลการเรียน ณ มลรัฐอัลเบอร์ต้า ประเทศแคนาดา และมลรัฐนิวแฮมเชียร์ และแมสซาจูเซ็ท สหรัฐอเมริกา • การวิเคราะห์ข้อมูล - โดยการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)

  5. การเทียบโอนผลการเรียนนอกระบบหรือตามอัธยาศัย เข้าสู่สถาบันอุดมศึกษาของต่างประเทศ************************* ประเทศที่ศึกษา : • CA • USA • UK • NZ • AUS

  6. คำที่ใช้เกี่ยวกับการเทียบโอนในประเทศต่าง ๆ ********************** CA : Prior Learning Assessment and Recognition (PLAR) USA : Prior Learning Assessment (PLA) UK : Accreditation of Prior Experiential Learning (APEL) NZ : Assessment of Prior Learning (APL) AUS : Recognition of Prior Learning (RPL) หรือ Recognition of Current Competence (RCC)

  7. มีหน่วยงานกลางกำหนดนโยบายและแนวปฏิบัติ มีหน่วยงานกลางทำหน้าที่เป็นผู้กำหนดนโยบายและแนวปฏิบัติใน การเทียบโอนฯ เพื่อให้สถาบันอุดมศึกษาแต่ละแห่งใช้เป็นกรอบและ แนวทางในการกำหนดระเบียบ/ข้อบังคับ CA : Council on Admissions and Transfers (CAT) USA : American Council on Education (ACE) UK : Quality Assurance Agency (QAA) NZ : New Zealand Qualification Authority (NZQA) AUS : Australian Vice - Chancellor Council (AVCC)

  8. หน่วยงานอื่นที่ไม่ใช่สถาบันอุดมศึกษาที่ดำเนินการและหน่วยงานอื่นที่ไม่ใช่สถาบันอุดมศึกษาที่ดำเนินการและ สนับสนุนการเทียบโอนฯ • Open Learning Agency (CA) • Centre for Assessment of Prior Learning (NZ) • Educational Testing Services หรือ ETS (USA) • American College Testing Services หรือ ACT (USA) • Experiential Learning Assessment Network หรือ ELAN (USA)

  9. หลักการเทียบโอน การเทียบความรู้จากจากศึกษานอกระบบหรือตามอัธยาศัย เข้าสู่การศึกษาในระบบของสถาบันอุดมศึกษาต่าง ๆ จะเทียบเป็นรายวิชา หรือ กลุ่มรายวิชา

  10. การประเมินความรู้จากการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามการประเมินความรู้จากการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย เพื่อเทียบความรู้เข้าสู่การศึกษาในระบบ • การทดสอบ (Tests) 1.1) Standardized Tests 1.2) Non – Standardized Tests • การประเมินการศึกษา/อบรมที่จัดโดยหน่วยงานอื่นที่ไม่ใช่ สถาบันอุดมศึกษา (Evaluation of Non – College Sponsored Training) • การประเมินโดยพิจารณาแฟ้มสะสมผลการเรียนรู้มาก่อน (Evaluation of Prior Learning Portfolio/Academic Portfolio)

  11. 1. การทดสอบ (Tests) 1.1) Standardized Tests • มีหน่วยงานกลางที่เป็นที่ยอมรับของสถาบันอุดมศึกษา - สร้างแบบทดสอบมาตรฐานของแต่ละรายวิชา - ทดสอบผู้ขอเทียบความรู้และประเมินผล (ให้คะแนน) แต่ไม่มี การให้หน่วยกิต • สถาบันอุดมศึกษามีมาตรฐานของตนเองในการยอมรับคะแนนการทดสอบมาตรฐาน • สถาบันฯ เป็นผู้พิจารณาในการให้หน่วยกิต แต่ไม่มีการให้เกรด • บันทึกผลการเรียนตามวิธีเทียบโอนคือ “CS” (Credit from Standardized Tests) • ไม่มีการคิดคะแนนผลการเรียน/คะแนนเฉลี่ยสะสม

  12. 1.2) Non – Standardized Tests • เป็นการทดสอบหรือประเมินความรู้โดยคณะวิชา/อาจารย์ผู้สอนประจำวิชานั้น ๆ หรือผู้ที่สถาบันอุดมศึกษา/คณะวิชากำหนดมี 4 วิธี (1) Challenge Exam (2) Oral Exam (3) Skill Performance (4) การผสมผสานตั้งแต่ 2 วิธีข้างต้น • ถ้าสอบผ่านตามเกณฑ์ที่กำหนดก็จะได้รับหน่วยกิต ในรายวิชานั้น แต่จะไม่มีการให้เกรด/คะแนน (1) การบันทึกผลการสอบจะบันทึก “CE” (Credit from Exams) (2) ไม่มีการนำมาคิดคะแนนผลการเรียน/คะแนนเฉลี่ยสะสม

  13. Challenge Exam • กำหนดโดย สถาบันอุดมศึกษา/คณะ/อาจารย์ • วัดความรู้ด้านเนื้อหา (Content) • อาจารย์/ผู้ที่สถาบันอุดมศึกษากำหนดเป็นผู้ออกข้อสอบ • ลักษณะข้อสอบ สร้างตามวัตถุประสงค์ของรายวิชาบนพื้นฐานของเนื้อหาสาระและตำราเรียน • นักศึกษาควรปรึกษาอาจารย์ผู้สอนเพื่อเตรียมความพร้อมในการสอบ

  14. Oral Exam • เป็นการสอบวัดความรู้ความเข้าใจ โดยวิธี • สัมภาษณ์ • อภิปราย • ตอบคำถาม • อาจารย์ประจำรายวิชาเป็นผู้สอบ • เนื้อหาการสอบอยู่บนพื้นฐานของรายวิชาที่สอน • นักศึกษาควรปรึกษาอาจารย์ที่ปรึกษา/ผู้สอนก่อนเลือกวิธีนี้ ที่กำหนดไว้ล่วงหน้า

  15. Skill Performance • ให้ผู้เรียนสาธิตหรือแสดงออกถึงความสามารถใน การปฏิบัติงาน ในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาที่ ขอเทียบโอน • อาจารย์ประจำรายวิชาตรวจสอบว่าผู้เรียนมีทักษะ ความสามารถตรงกับผลการเรียนรู้ในรายวิชาที่ขอ เทียบโอน

  16. 2. การประเมินการศึกษา/อบรมที่จัดโดยหน่วยงาน อื่นที่ไม่ใช่สถาบันอุดมศึกษา • ประเมินโดย • คณาจารย์/ผู้เชี่ยวชาญของมหาวิทยาลัย ที่ยอมรับการเทียบโอน • องค์กรที่มหาวิทยาลัยมอบหมาย

  17. 2. การประเมินการศึกษา/อบรมที่จัดโดยหน่วยงาน อื่นที่ไม่ใช่สถาบันอุดมศึกษา (ต่อ) • ปัจจัยที่นำมาพิจารณา • ผลการศึกษา/อบรมที่มุ่งหวัง • ระยะเวลาในการศึกษา/อบรม • เนื้อหาของหลักสูตร • ระดับความยุ่งยากของเนื้อหา • วิธีการประเมินความสำเร็จของผลการศึกษา/อบรม • หลักสูตรใดผ่านการประเมินและกำหนดหน่วยกิตให้แล้วผู้สอบผ่านการประเมินจะได้หน่วยกิตในรายวิชาที่เทียบเท่า

  18. 3. แฟ้มสะสมผลการเรียนรู้ที่มีมาก่อน(Evaluation of Prior Learning Portfolio/Academic Portfolio) • เป็นการสรุปการเรียนรู้ที่ได้จากการศึกษาตามอัธยาศัย/ การฝึกอาชีพ/ประสบการณ์ • การขอเทียบโอนหน่วยกิต ต้องแสดง/พิสูจน์ว่า... • ได้เรียนรู้อะไรจากสิ่งที่ทำมา • ไม่ใช่แสดงว่าได้ทำอะไรมาบ้าง • เป็นแฟ้มผลงานที่รวบรวมข้อมูลความรู้และทักษะอย่างเป็นระบบ • แฟ้มผลงาน 1 แฟ้ม ต่อ 1 รายวิชา

  19. ขั้นตอนการจัดทำแฟ้มสะสมผลงานเพื่อขอเทียบ ความรู้และโอนหน่วยกิต******************************************************** • รวบรวมความรู้ ทักษะ และประสบการณ์ • เลือกสาขาวิชาที่จะขอเทียบความรู้ • เลือกรายวิชาในหลักสูตรที่สอดคล้องกับการเรียนรู้ • ประมวลหลักฐานการเรียนรู้ • บรรยายสิ่งที่ได้เรียนรู้ พร้อมแสดงหลักฐานประกอบ มหาวิทยาลัย/คณะวิชาจะกำหนดรูปแบบการจัดทำแฟ้มสะสมผลการเรียนรู้

  20. การประเมินแฟ้มสะสมผลงาน********************************************************การประเมินแฟ้มสะสมผลงาน******************************************************** • ประเมินโดยอาจารย์ผู้เชี่ยวชาญ/ผู้สอนวิชาที่ขอเทียบ • การตัดสินเพื่อให้ได้รับจำนวนหน่วยกิตของรายวิชานั้น ๆ (แต่ไม่ให้เกรด) • ระดับปริญญาตรี ความรู้ที่ขอเทียบต้องเท่ากับเกรด C หรือดีกว่า • ระดับบัณฑิตศึกษา ความรู้ที่ขอเทียบต้องเท่ากับเกรด B หรือดีกว่า

  21. การประเมินแฟ้มสะสมผลงาน (ต่อ)******************************************************** • หากผลการประเมินแสดงว่าความรู้ตามที่แสดงไม่เพียงพออาจประเมินเพิ่มเติมโดย.- • ขอข้อมูลเพิ่มเติม • สอบข้อเขียน/สัมภาษณ์/ทดสอบทักษะปฏิบัติ • การบันทึกผลสอบใช้ “CP” (Credits from Portfolio) และไม่คิดคะแนนผลการเรียน/คะแนนเฉลี่ยสะสม

More Related