1 / 22

การพยาบาล ภาวะฉุกเฉินในผู้ป่วยมะเร็ง ที่ต้องรักษาด้วยรังสี

การพยาบาล ภาวะฉุกเฉินในผู้ป่วยมะเร็ง ที่ต้องรักษาด้วยรังสี. สุ วิญญา ธนสีลัง กูล. ภาวะฉุกเฉินทางรังสี ที่พบบ่อยได้แก่. 1. Superior Vena Cava Obstruction 2. Spinal Cord Compression 3. Nearly Fracture of Weight Bearing bone 4. Brain Metastasis (Increased Intracranail Pressure)

marcin
Télécharger la présentation

การพยาบาล ภาวะฉุกเฉินในผู้ป่วยมะเร็ง ที่ต้องรักษาด้วยรังสี

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพยาบาล ภาวะฉุกเฉินในผู้ป่วยมะเร็ง ที่ต้องรักษาด้วยรังสี สุวิญญา ธนสีลังกูล

  2. ภาวะฉุกเฉินทางรังสี ที่พบบ่อยได้แก่ 1. SuperiorVenaCavaObstruction 2. SpinalCordCompression 3. Nearly Fracture of Weight Bearing bone 4. Brain Metastasis (Increased IntracranailPressure) 5. BleedingUlcerTumors 6. UpperAirwayObstruction

  3. Acute SVC Obstruction syndrome หมายถึง กลุ่มอาการซึ่งเกิดจากการกดเส้นเลือดดำใหญ่SuperiorVenaCava ซึ่งอยู่บริเวณ Midiastinum ทำให้เลือดจากศีรษะ ร่างกายส่วนบน และแขนทั้ง 2 ข้าง ไหลกลับเข้าสู่หัวใจไม่ได้ จะเกิดอาการซึ่งเป็นผลจากการมีเลือดคั่ง ในส่วนเหนือต่อเส้นเลือดดำ SuperiorVenaCava นั่นเอง

  4. Acute SVC Obstruction syndrome อาการและอาการแสดง

  5. Acute SVC Obstruction syndrome การพยาบาล 1.Earlydetection โดยสังเกต อาการแสดงเริ่มแรกคือ เปลือกตาบวมตอนเช้า รู้สึกแน่นบริเวณคอ หายใจเร็ว 2. ให้นอนศีรษะสูง หรือฟุบบน overbed 3. ให้ oxygen 4. จำกัดกิจกรรมบนเตียง

  6. Acute SpinalCordCompression หมายถึง การที่ก้อนมะเร็งกระจายไปที่ epidural area ทำให้มีการกดของประสาทไขสันหลัง และ ส้นประสาท และเบียดบังทำให้ spine เกิด necrosisและเสียหน้าที่ไปในที่สุด

  7. Acute SpinalCordCompression มะเร็งที่กระจายไปไขสันหลังที่พบบ่อยได้แก่ - CA lung - CA breast - CA prostate - Lymphoma

  8. Acute SpinalCordCompression อาการ ประมาณร้อยละ 80 มาด้วยอาการปวดหลังร้าวไปที่ขา หรือมีอาการชาร่วมด้วย อาการอ่อนแรงพบหลังจากมีอาการปวด ประมาณ 2 สัปดาห์

  9. Acute SpinalCordCompression การพยาบาล 1.Earlydetection โดยเฉพาะ ในมะเร็งที่เกิดบ่อย 2. การเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ควรทำด้วย ความระมัดระวัง นุ่มนวล และถูกวิธี 3. ในกรณีที่ผู้ป่วยยังสามารถเคลื่อนไหว ตัวเองได้ แนะนำให้พักบนเตียงและ ระมัดระวังการเกิดอุบัติเหตุ

  10. Nearly Fracture of Weight Bearing การกระจายของมะเร็งไปที่กระดูก วัตถุประสงค์ในการรักษาที่สำคัญ - ลดอาการปวดและป้องกันกระดูกหัก

  11. Nearly Fracture of Weight Bearing อาการ อาการปวด อาการทางระบบประสาทร่วมด้วย$$

  12. Nearly Fracture of Weight Bearing ตำแหน่งที่พบกระดูแตกหักได้บ่อย - femoral neck - แท่งกระดูกขา

  13. IncreasedIntracranailPressure หมายถึง ภาวะความดันสมองสูง เกิดจากก้อนเนื้องอก ในสมองมีขนาดโตขึ้น ความดันในสมองจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จนกลไกควบคุมตัวเองและควบคุมเลือดที่มาเลี้ยงสมองเสียไป สมองจะขาดเลือดและเกิด herniation อาจเสียชีวิตได้

  14. IncreasedIntracranailPressure brainmetastasisมักมาจาก - CA lung - CA breast - CA colon - CA rectum - CA skin ( melanoma)

  15. IncreasedIntracranailPressure อาการ - ปวดศีรษะ - คลื่นไส้ อาเจียน -conciousลดลง - พฤติกรรมเปลี่ยนไป - ชัก

  16. IncreasedIntracranailPressure การพยาบาล 1. Earlydetection โดยเฉพาะในมะเร็งที่เกิดบ่อย 2.Observe n/s 3.นอนหัวเตียงสูงประมาณ 30 องศา

  17. BleedingUlcerTumors เป็นภาวะเลือดออกจากแผลมะเร็ง มักเกิดจากเซลล์มะเร็งเจริญเติบโต และลุกลามหลอดเลือดและเนื้อเยื่อ ในบริเวณใกล้เคียงนั้นจนแตกเป็นแผล

  18. BleedingUlcerTumors การพยาบาล 1. ประเมินการเสียเลือด 2. ให้สารน้ำและเลือดตามแผนการรักษา 3. stopbleeding 4. Dressing แผล ตามความเหมาะสม 5. Recordvitalsigns ทุก 4 – 6 ชั่วโมง 6. เจาะ Hct ทุก 6 ชั่วโมง 7. อธิบายให้ญาติและผู้ป่วยทราบและเข้าใจถึงพยาธิสภาพ 8. ดูแลให้ได้รับยา

  19. UbperAirwayObstruction เป็นภาวะฉุกเฉินเนื่องจากผู้ป่วยหายใจ ไม่สะดวก อาจมีสาเหตุมาจากโรคมะเร็ง ที่มีก้อนเนื้องอกโตไปเบียดหลอดลม หรืออุดกั้นหลอดลม

  20. UbperAirwayObstruction มะเร็งที่มักเกิดภาวะนี้บ่อยได้แก่ 1. มะเร็งกล่องเสียง 2. มะเร็งหลอดลม 3. มะเร็งต่อมไทรอยด์ ชนิด anaplastic 4. มะเร็งต่อมน้ำเหลือง

  21. UbperAirwayObstruction อาการ ผู้ป่วยจะมีอาการหายใจไม่ออก หายใจไม่สะดวก กระสับกระส่าย การพยาบาล 1. ให้ O2 และรีบรายงานแพทย์เพื่อทำ tracheostomy ทันที 2. จัดเตรียมรถ Emergency ไว้ให้พร้อมใช้งาน

More Related