1 / 12

การประเมินความปลอดภัยด้านยา

การประเมินความปลอดภัยด้านยา. โรงพยาบาลบุรีรัมย์ ข้อ 9 การประเมินการใช้ยา. ผลการประเมินตนเอง : 2. พิจารณาในแต่ละข้อกำหนด เนื้อหาเน้น DUE ปัจจุบันรพ.บุรีรัมย์ดำเนินการ DUR ระบบ DUE สะท้อนความปลอดภัยด้านยาน้อยกว่าข้ออื่น เนื่องจาก การดำเนินงานในระยะต้นไม่ได้ส่งผลต่อผู้ป่วยโดยตรง.

mariah
Télécharger la présentation

การประเมินความปลอดภัยด้านยา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประเมินความปลอดภัยด้านยาการประเมินความปลอดภัยด้านยา โรงพยาบาลบุรีรัมย์ ข้อ 9 การประเมินการใช้ยา

  2. ผลการประเมินตนเอง : 2 • พิจารณาในแต่ละข้อกำหนด • เนื้อหาเน้น DUE • ปัจจุบันรพ.บุรีรัมย์ดำเนินการ DUR • ระบบ DUE สะท้อนความปลอดภัยด้านยาน้อยกว่าข้ออื่น เนื่องจาก • การดำเนินงานในระยะต้นไม่ได้ส่งผลต่อผู้ป่วยโดยตรง

  3. ผลการประเมินตนเอง : 2 • มุ่งเน้นการควบคุมการใช้ยา (ลดมูลค่ายา) • ประโยชน์เกิดกับผู้ป่วยเมื่อสามารถได้ผลประเมินว่ามีการสั่งใช้ยาไม่เหมาะสม และสามารถสร้างแนวทางการสั่งใช้ยา การติดตามการใช้ยา และนำไปสู่การปฏิบัติได้ • Concurrent จะเกิดประโยชน์โดยตรงกับผู้ป่วย • แต่เพิ่มภาระงานมาก

  4. การดำเนินงาน DUE รพ.บุรีรัมย์ • Concurrent DUE : Imipenem/Cilastatin, Meropenem, Cefepime, Cefpirome • หัวข้อประเมิน : Indication, Dose, ADR, ผลการรักษา • ปัญหาที่พบ : • มีความเห็นที่ขัดแย้งในเรื่องผลการประเมิน • แพทย์พิจารณาอาการทาง clinic ของผู้ป่วยเป็นสำคัญ • การปฏิบัติจริงขาดข้อมูลที่สำคัญ : sensitivity test, นน.ผู้ป่วย

  5. การดำเนินงาน DUE รพ.บุรีรัมย์ • ผลการประเมิน : ใช้ยาเหมาะสม  80% • ไม่สามารถสร้างแนวทางการสั่งใช้ยาได้ • ต่อมายากลุ่มดังกล่าวไม่ใช่ปัญหาหลักของการสั่งใช้ยาในรพ. • ยาที่มูลค่าการสั่งใช้สูง

  6. มูลค่าจ่ายยาจากคลัง Top 20 : 2552

  7. มูลค่าจ่ายยาจากคลัง Top 20 Original 12 รายการ ED 10 รายการ NED 8 รายการ

  8. แนวทางเรื่องสั่งใช้ยาที่เหมาะสมแนวทางเรื่องสั่งใช้ยาที่เหมาะสม • DUR : drug use review • ประมวลผลจากฐานข้อมูลการใช้ยา • สะท้อนการสั่งใช้ยาในรพ. เสนอต่อผู้บริหารรพ. • ลดภาระงานเภสัชกร แต่การติดตามการสั่งใช้ยายังคงดำเนินการ : acute care • สร้างมาตรฐานการสั่งใช้ยาในยาที่เกิดปัญหา

  9. แนวทางเรื่องสั่งใช้ยาที่เหมาะสมแนวทางเรื่องสั่งใช้ยาที่เหมาะสม • Antibiotic : Restrict drug • IC ดำเนินการร่วมกับกลุ่มงานเภสัชกรรม • ติดตามการสั่งใช้ยาว่าเหมาะสมตรงตาม indication หรือไม่ • ตัวอย่างแบบบันทึก

  10. ประชุมคณะกรรมการ PTCครั้งที่ 1 / 2553 22/01/53 ห้องประชุมเภสัชกรรม

  11. 4.1 มติคณะอนุกรรมการจัดทำบัญชียา • การดำเนินงาน Rational drug use • DUR : atrovastatin มีการใช้ยาเหมาะสมตาม NCEP III 30% • เสนอให้มีการทำ DUR ในยากลุ่มอื่นเพิ่มเติมโดยเฉพาะยาที่มีมูลค่าการใช้สูง • มอบหมายให้กลุ่มงานเภสัชกรรมพิจารณาดำเนินงาน

  12. Rational drug use • Atrovastatin : step II กำหนดแนวทางการสั่งใช้ยา • ตัวอย่างการควบคุมการใช้ยา Antihyperlipidemia • ยารายการอื่นที่ควรทำ DUR • กลุ่มงานเภสัชกรรมพิจารณามูลค่าการใช้ยา + ข้อมูลกลุ่มงาน 8 กลุ่มที่กรมบัญชีกลางให้ความสนใจ • Celebrex

More Related