330 likes | 803 Vues
ปํญหา โรคเลือดในผู้สูงอายุ. รศ. ดร. ธนูศักดิ์ ตาตุ แขนงวิชาจุล ทรรศน ศาสตร์คลินิก ภาควิชาเทคนิคการแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ระบบเลือดในมนุษย์. ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ส่วนสร้าง Yolk sac , ตับ & ม้าม และ ไขกระดูก ส่วนทำงาน หลอดเลือด เม็ดเลือด น้ำเลือด
E N D
ปํญหาโรคเลือดในผู้สูงอายุปํญหาโรคเลือดในผู้สูงอายุ รศ. ดร. ธนูศักดิ์ ตาตุ แขนงวิชาจุลทรรศนศาสตร์คลินิก ภาควิชาเทคนิคการแพทย์ คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ระบบเลือดในมนุษย์ ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก • ส่วนสร้าง • Yolk sac , ตับ & ม้าม และ ไขกระดูก • ส่วนทำงาน • หลอดเลือด • เม็ดเลือด • น้ำเลือด • ส่วนทำลาย • ม้าม http://3.bp.blogspot.com/_w2nsVR0w-bo/S72p1og1NDI/AAAAAAAAAHA/DFrGNdblLfU/s1600/anatomy.jpg อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54
ไขกระดูก (Bone marrow) • อยู่ภายในกระดูก • ประกอบด้วยเซลล์ไขมัน และเซลล์เม็ดเลือด เป็นหลัก http://images.paraorkut.com/img/health/images/b/bone_marrow-655.gif http://labmed.yale.edu/Images/cs3_bonemarrowbiopsy_tcm45-1608.jpg อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54
หลอดเลือด (blood vessels) • ทำหน้าที่เป็นช่องทางเดินของเม็ดเลือดและน้ำเลือดไปทั่วร่างกาย • มี 2 ชนิดหลักๆคือ หลอดเลือดดำ (Vein) และ หลอดเลือดแดง (Artery) • ผนังหลอดเลือดหนาบางไม่เท่ากันขึ้นกับชนิดหรือระยะห่างจากหัวใจ http://faculty.weber.edu/nokazaki/Human_Biology/Chp%208-heart_files/image001.jpg อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54
เม็ดเลือด (Blood cells) • ประกอบด้วย เม็ดเลือดแดง เม็ดเลือดขาว และ เกล็ดเลือด • เดินทางไปทั่วร่างกายภายในหลอดเลือด http://2.bp.blogspot.com/_xiYlrh2o0uk/TKwSZXr2t4I/AAAAAAAAABI/kko5khno9qA/s1600/Blood+cells.jpg อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54
เม็ดเลือดแดง (Red blood cells, erythrocytes) • มีจำนวนมากที่สุด (5-6 ล้าน/ลบ.มม.) • มีฮีโมโกลบิน เป็นส่วนประกอบหลัก • สร้างจากไขกระดูก • ทำหน้าที่หลักในการขนส่งกาซออกซิเจนจากปอดสู่เนื้อเยื่อและนำกาซคาร์บอนไดออกไซด์จากเนื้อเยื่อสู่ปอด http://image.dek-d.com/23/1030766/105298681 อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54
เม็ดเลือดขาว (White blood cells, leukocytes) • มีหลายหน้าที่ในร่างกาย สร้างจากไขกระดูก • ปกติมี 5,000-10,000เซลล์/ลบ.มม. • ปกติมี 5ชนิดคือ • นิวโทรฟิล (Neutrophil) • ลิมโฟไซท์ (Lymphocyte) • โมโนไซท์ (Monocyte) • อีโอสิโนฟิล(Eosinophil) • เบโซฟิล(Basophil) http://www.student.chula.ac.th/~53370262/image/stock-photo-white-blood-cells-19777435.jpg อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54
เกล็ดเลือด (Platelets) • เป็นเศษของไซโตพลาสมของเซลล์ต้นกำเนิด • ปกติมี 140,000-400,00/ลบ. มม. • สร้างจากไขกระดูก • มีหน้าที่เกี่ยวกับการห้ามเลือด http://cdn.gotoknow.org/assets/media/files/000/212/357/original_16.08.08.33.jpg?1286122888 อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54
น้ำเลือด (Plasma) • มีสารละลายต่างๆที่จำเป็นต่อร่างกาย เช่นสารอาหาร เกลือแร่ ฮอร์โมน • มีโปรตีนที่จำเป็นต่อกระบวนการห้ามเลือดของร่างกาย • ระบบแข็งตัวของเลือด • ระบบสลายลิ่มเลือด http://cdn.gotoknow.org/assets/media/files/000/417/378/original_b.jpg?1285767765 อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54
ระบบห้ามเลือด อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54 http://irvingcrowley.com/cls/clotting.gif
การสร้างเลือด • สร้างในไขกระดูก ในตำแหน่งแตกต่างกันไปตามช่วงอายุ http://media.photobucket.com/image/site+of+hematopoiesis+/mccabej3/RBCS/HematopoiesisTimeline.jpg อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54
ผู้สูงอายุ (Elderly) ผู้ที่มีอายุ 60ปี ขึ้นไป อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54
Sutthichai Titapunkul and Srichitra Bunnag, Ageing in Thailand 1997 Thai Society of Gerontology and Geriatric Medicine, Bangkok, Thailand 1998 อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54
การเปลี่ยนแปลงของระบบเลือดเมื่ออายุมาก (สุขภาพปกติ) • ไขกระดูก : เซลล์ลดลง เซลล์ไขมันเพิ่มขึ้น • ฮีโมโกลบิน : ต่ำลงเล็กน้อย (<13 g/dl ในผู้ชาย และ < 12 g/dl ในผู้หญิง) • เม็ดเลือดขาว : ไม่เปลี่ยนแปลงจากวัยหนุ่ม รวมทั้งเม็ดเลือดขาวแต่ละชนิด • นิวโตรฟิล: ระดับ superoxideต่ำลง • ลิมโฟซัย: ความสามารถในการทำงานลดลง โดยเฉพาะมีระดับ CD4ลดลง • เกล็ดเลือด : ปริมาณไม่เปลี่ยนแปลงเมื่ออายุมาก แต่หน้าที่เปลี่ยนแปลงเล็กน้อย • หลอดเลือด : ผนังหนาขึ้น ขาดความยืดหยุ่น ผนังด้านในขรุขระขึ้น มีไขมันและแคลเซียมเกาะง่ายขึ้น • กลไกการแข็งตัวของเลือด : ระดับ fibrinogen, Factors V, VIII, IX เพิ่มขึ้น อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54
โรคเลือดที่สำคัญในผู้สูงอายุโรคเลือดที่สำคัญในผู้สูงอายุ • โลหิตจาง (Anemia) • โรคมะเร็งเม็ดเลือด (Leukemia) • หลอดเลือดอุดตัน (Thrombosis) • โรคเลือดออก (Senile purpura) อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54
โรคโลหิตจาง • สาเหตุสำคัญในผู้สูงอายุคือ • การขาดธาตุเหล็ก (Iron deficiency anemia) • การเป็นโรคเรื้อรัง (Anemia of chronic diseases) • การขาดโฟเลทและวิตามินบี 12 (Folate and vitamin B12 deficiencies • ไขกระดูกทำงานบกพร่อง (Myelodysplastic syndrome; MDS) อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54
โลหิตจางเนื่องจากการขาดธาตุเหล็กโลหิตจางเนื่องจากการขาดธาตุเหล็ก • พบบ่อยที่สุด • สาเหตุ : ไม่มีจะกิน กินไม่ถูกสุขลักษณะ การดูดซึมผิดปกติ มีเลือดออกเรื้อรังที่ทางเดินอาหาร ตัดลำไส้เล็กส่วนต้น • ลักษณะที่พบ : ซีด, ลิ้นเลี่ยน, แผลมุมปาก, เล็บงอเป็นช้อน • การรักษา : รักษาความผิดปกติอื่นร่วมกับให้ธาตุเหล็ก • อาหารที่มีธาตูเหล็กสูง : ตับ ผักสีเขียวเข้ม เนื้อ เครื่องใน สัตว์น้ำมีเปลือก • หลีกเลี่ยง : ชา กาแฟ ยาลดกรด ยาแคลเซียม อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54
http://www.student.chula.ac.th/~50370711/images/p6.jpg อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54
โลหิตจางในโรคเรื้อรังโลหิตจางในโรคเรื้อรัง • พบบ่อยรองลงมา • พบร่วมกับโรคเรื้อรังเช่น การอักเสบเช่นโรค rheumatoid arthritis, การติดเชื้อเช่น วัณโรค, โรคมะเร็ง, โรคตับ และโรคไต • ร่างกายไม่ขาดเหล็ก แต่ธาตุเหล็กไม่ถูกปล่อยจากแหล่งเก็บ • ลักษณะอาการ : คล้ายการขาดธาตุเหล็ก แต่รุนแรงน้อยกว่า • แยกจากการขาดธาตุเหล็ก : ดูจากข้อมูลการเจ็บป่วยร่วมกับผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ • การรักษา : รักษาโรคอื่นที่เป็นอยู่ให้หาย อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54
โลหิตจางจากโรคเรื้อรังโลหิตจางจากโรคเรื้อรัง อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54
Megaloblastic Anemia • เกิดจากการขาดโฟเลท หรือขาดวิตามินบี 12 • โฟเลทพบมาในผักมีใบ วิตามินบี 12พบมากในเนื้อสัตว์ • ผู้สูงอายุที่เป็นมังสวิรัติ, ตัดบางส่วนของกระเพาะอาหารและลำใส้เล็กส่วนปลาย มีโอกาสขาดวิตามินบี 12 • อาการ : ซีด และมีเม็ดเลือดแดงขนาดใหญ่ และนิวโตรฟิลมีหลายโลบ • อาการคล้ายกัน แต่ขาดวิตามินบี 12มีอาการทางระบบประสาทร่วม (ชา เจ็บแปล็บที่แขนขา สับสน) • รักษา : ให้ยากรดโฟเลท หรือ วิตามินบี 12 • อาหาร : ตับ ไต มีวิตามินบี12มากที่สุด • อาหาร : ตับ หน่อไม้ฝรั่ง ผักเขียวเข้ม เมล็ดธัญญพืช (ผักต้องกินสด) อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54
เม็ดเลือดของ megaloblastic anemia http://nonada0.tripod.com/MEGdis.html อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54
ไขกระดูกทำงานบกพร่อง (MDS) • เป็นภาวะที่ไขกระดูกทำงานผิดปกติ • พบบ่อยในผู้สูงอายุ (อายุช่วง 60-70ปี) • มีอาการซีด เหนื่อย รู้สึกหนาว ติดเชื้อง่ายและเลือดออกง่าย • เม็ดเลือดทุกชนิดต่ำลง (pancytopenia) • สาเหตุ : 50%เกิดจากสารเคมี รังสีรักษา เบนซีน อีก 50%ไม่ทราบสาเหตุ • อาจจะเปลี่ยนไปเป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลัน (AML) • การรักษา : เติมเลือด และ ใช้ยาเคมีบำบัด อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54
เม็ดเลือดใน MDS http://clinicalflow.com/Cases/Case_List/Myelodysplastic_Syndromes_(MDS) อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54
โรคมะเร็งเม็ดเลือด • มี 2ชนิดคือ acute myelogenous leukemia (AML) และ chronic lymphocytic leukemia (CLL) • มีอาการ ซีด เลือดง่าย ติดเชื้อง่าย • อาจจะเสียชีวิตจากการติดเชื้อ • การรักษา : เคมีบำบัด http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/5/58/B-cell_chronic_lymphocytic_leukemia_(B-CLL).jpg อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54
โรคหลอดเลือดอุดตัน • คือภาวะที่มีการสร้างก้อนเลือดอุดตันหลอดเลือด ขวางการไหลของกระแสเลือด • ถ้าเกิดกับเส้นเลือดดำ เรียกว่า venous thrombosis ซึ่งพบบ่อยในผู้สูงอายุ ถ้าอยู่ลึกเรียกว่า deep vein thrombosis (DVT) • เกิดจาก 3ปัจจัยคือ เกิดการเปลี่ยนแปลงของผนังหลอดเลือด, เลือดไหลช้าลง และ ปริมาณโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับระบบห้ามเลือดเปลี่ยนแปลง • การอยู่นิ่งเป็นเวลานาน เป็นสาเหตุหลักในผู้สูงอายุ http://4.bp.blogspot.com/_70HgxsVpUTo/SDSXlT-QsKI/AAAAAAAAANI/vA56_Zty2K4/s400/DVT_normal_and_embolus.gif อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54
DVT http://lifeinthefastlane.com/wp-content/uploads/2009/12/image_16.jpg http://www.virchicago.com/deep-vein-thrombosis.htm อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54
DVT & Stroke http://www.healthcentral.com/common/images/9/9953_3650_5.jpg http://www.womenshealth.gov/publications/our-publications/fact-sheet/images/stroke.jpg อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54
การรักษาและป้องกัน DVT • การรักษา • ยาสลายลิ่มเลือด • ยาป้องกันการแข็งตัวของเลือด • การป้องกัน • ออกกำลัง • ไม่อยู่นิ่งนานๆ ขยับตัวบ่อยๆ http://cdn.gotoknow.org/assets/media/files/000/124/347/original_DSC_0002.JPG?1285867637 http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/969/10969/images/DSC07767.jpg10.jpg อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54
Senile purpura • เกิดจากเส้นเลือดเปราะเนื่องจากเนื้อเยื่อ (collagen) เสื่อม • เกิดเป็นปื้นเลือดบริเวณหลังมือ หรือ ท้องแขน • ต้องระวังเกี่ยวกับเลือดออกในสมอง • ไม่ควรให้ท้องผูก http://www.sciencephoto.com/image/138709/530wm/C0075751-Senile_Purpura-SPL.jpg http://dermimages.med.jhmi.edu/images/senile_purpura_1_050808.jpg http://accessmedicine.ca/loadBinary.aspx?name=licha&filename=licha_XI.034t.jpg อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54
สวัสดี........สตินำชีวิต พิชิตวิบากกรม........
เอกสารอ้างอิง • Rosendaal FR, et al. Venous thrombosis in the elderly. J ThromboHemosta 2007; 5 (suppl 1): 310-7. • Walsh JR. Hematologic disorders in the elderly. Western J Med 1981; 135(6): 446-54. • Lee JH. Anemia in elderly Koreans. Yonsei Med J 2011; 52(6): 909-13. • Young NS, gerson SL and High KA. Clinical Hematology. Philadelphia; Mosby Elsevier, 2006. • Beutler E, Lichtman MA, Coller BS, Kipps TJ and Seligsohn U. Williams Hematology (6th edition). Toronto; McGraw-Hill, 2001. อบรมผู้สูงอายุ 16-18 พย 54