1 / 39

หน่วยงานในการบริหารจัดการทรัพยากรบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

หน่วยงานในการบริหารจัดการทรัพยากรบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต. อ. อธิตา โชคอนันต์รัตนา. เนื้อหาสำหรับการเรียน. IETF IANA Internet standard ---> RFC (Requests For Comments) Type of Content --->MIME Apache Web Server. เครือข่ายซึ่งนำไปสู่อินเทอร์เน็ต.

marisa
Télécharger la présentation

หน่วยงานในการบริหารจัดการทรัพยากรบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หน่วยงานในการบริหารจัดการทรัพยากรบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตหน่วยงานในการบริหารจัดการทรัพยากรบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต อ. อธิตา โชคอนันต์รัตนา

  2. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา เนื้อหาสำหรับการเรียน • IETF • IANA • Internet standard ---> RFC (Requests For Comments) • Type of Content --->MIME • Apache Web Server

  3. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา เครือข่ายซึ่งนำไปสู่อินเทอร์เน็ต • อิน เทอร์เน็ตเป็นเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถือกำเนิดเมื่อประมาณ 30 ปีที่แล้ว ถือกำเนิดขึ้นครั้งแรกในประเทศสหรัฐอเมริกา เมื่อ พ.ศ. 2512 โดยองค์กรทางทหารของสหรัฐอเมริกา ชื่อว่า ยู.เอส.ดีเฟนซ์ ดีพาร์ทเมนท์ ( U.S. Defence Department ) เป็นผู้คิดค้นระบบขึ้นมา มีวัตถุประสงค์ คือ เพื่อให้มีระบบเครือข่ายที่ไม่มีวันตายแม้จะมีสงคราม ระบบการสื่อสารถูกทำลาย หรือตัดขาด แต่ระบบเครือข่ายแบบนี้ยังทำงานได้ ซึ่งระบบดังกล่าวจะใช้วิธีการส่งข้อมูลในรูปของคลื่นไมโครเวฟ ฝ่ายวิจัยขององค์กรจึงได้จัดตั้งระบบเน็ตเวิร์กขึ้นมา เรียกว่า ARPAnetย่อมาจากคำว่า Advance Research Project Agency net ซึ่งประสบความสำเร็จและได้รับความนิยมในหมู่ของหน่วยงานทหาร องค์กร รัฐบาล และสถาบันการศึกษาต่างๆ เป็นอย่างมาก

  4. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา อินเทอร์เน็ตในประเทศไทย • อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยเริ่มขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2530 โดยการเชื่อมต่อมินิคอมพิวเตอร์ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และสถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) ไปยังมหาวิทยาลัยเมลเบิร์น ประเทศออสเตรเลีย แต่ในครั้งนั้นยังเป็นการ เชื่อมต่อโดยผ่านสายโทรศัพท์ ซึ่งสามารถส่งข้อมูลได้ช้าและไม่เป็นการถาวร จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2535 ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (NECTEC) ได้ทำการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์กับมหาวิทยาลัย 6 แห่ง ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย (AIT) มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ(NECTEC), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เข้าด้วยกันเรียกว่า "เครือข่ายไทยสาร"

  5. IETFInternet Engineering Task Force

  6. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา องค์กร IEFT Internet Society • The IETF เป็นหนึ่งในองค์กรภายใต้ Internet Society • หน้าที่ดูแล บริหารจัดการ การรวมกลุ่มและการกำหนดมาตรฐานของอินเทอร์เน็ตโดยมีความร่วมมือกับ w3c and ISO/IECและ TCLIP siute IAB IETF IESG IRTF

  7. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา โครงสร้างการทำงาน IETF

  8. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา หน่วยงาน ICANN • เป็นหน่วยงานกลางที่ควบคุมดูแล IPV4 ทั่วโลก เป็น Public address ที่ไม่ซ้ำกันเลยในโลกใบนี้ การดูแลจะแยกออกไปตามภูมิภาคต่าง ๆ • โดยหน้าที่หลักๆ ประกอบด้วย การจัดการเกี่ยวกับการกำหนด DNS Root Zone (assignments of ccTLDs and gTLDsโดยมีแบ่งการดูแลออกเป็น โซนต่างๆในโลกซึ่งเรียกว่า arpa zone. ได้แก่ • ARIN ดูแลในส่วนของอเมริกาเหนือ • LACNIC ลาตินอเมริกาและแถบทะเลแคริเบียน • RIPE NCC ยุโรป ตะวันออกกลาง เอเชียกลาง • APNIC เอเซียแฟซิฟิก • AFrINICอัฟฟริกา แยกตัวมาจาก ARIN

  9. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา หน่วยงาน iana • การจัดการเกี่ยวกับการกำหนด DNS Root Zone (assignments of ccTLDs and gTLDsโดยมีแบ่งการดูแลออกเป็น โซนต่างๆในโลกซึ่งเรียกว่า arpa zone. 2. ianaแบ่ง global IP and AS Number และแบ่ง หมายเลข IP เหล่านี้ในอินเตอร์เน็ท 3. ianaเป็นองค์กรที่ได้รับความไว้วางใจในการเป็นศูนย์กลาง เพื่อจัดทำมาตรฐานของชื่อโปรโตคอล (Protocol name) และหมายเลขมาตรฐานต่างๆ (RFC)

  10. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา หน้าที่ iana ในส่วนของ Root Zone Database • การแบ่งประเภทของ Domain • ccTLD (Country Code Top Level Domains) • gTLD (Generic Top-Level Domain) • IDN (Internationalized Domain Name)

  11. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา Root Zone Database

  12. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ccTLD (Country Code Top Level Domains) เป็นการแบ่ง โดยจะใช้รหัสของชื่อประเทศ เช่น .AF country-codeAfghanistan Ministry of Communications and IT .AU country-codeAustralia .au Domain Administration (auDA) .JP country-codeJapan Japan Registry Services Co., Ltd.

  13. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ผู้ที่ดูแลโดเมน .TH ในประเทศไทย

  14. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา gTLD (Generic Top-Level Domain) โดเมนระดับบนสุดแบบทั่วไป เช่น .com .net .org .info .asiaเป็นต้นในปัจจุบันมีจำนวน gTLDsทั้งหมด 21 โดเมน โดยในช่วงเริ่มต้นเปิดใช้งานอินเทอร์เน็ตเมื่อประมาณปีค.ศ.1980 เรามีโดเมน gTLDsใช้กันเพียงเจ็ดโดเมนดังต่อไปนี้ .com .edu .gov .int .mil .netและ .org

  15. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ชนิดของ Domain

  16. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา การแบ่งกลุ่มของชื่อ .aero .asia .biz .cat .com .coop .edu .gov .info.int .jobs .mil .mobi .museum .name .net .org .pro .tel .travel • Business interests : กลุ่มที่สนใจอินเทอร์เน็ตเพื่อประโยชน์ทางด้านธุรกิจCivil society : กลุ่มสังคมและวัฒนธรรมGovernments and government agencies: กลุ่มรัฐบาลและหน่วยงานราชการInternet service providers : กลุ่มผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตRegistrants : กลุ่มผู้จดทะเบียนชื่อโดเมนRegistrars : กลุ่มผู้ให้บริการจดทะเบียนชื่อโดเมนRegistries : กลุ่มผู้ดูแลฐานข้อมูลชื่อโดเมนThe technical community : ชุมชนที่สนใจด้านเทคนิค

  17. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา IDN (Internationalized Domain Name) IDN ก็คือ การเรียกโดเมนที่เป็นตัวหนังสือภาษาต่าง ๆ นอกเหนือจากตัวหนังสืออังกฤษ

  18. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา หน้าที่ของ iana ในส่วนของ Protocol Assignments • ianaทำหน้าที่ในการรักษารหัสหลากหลายของโปรโดคอลอินเทอร์เน็ต ซึ่งในสวนนี้เป็นการประสานงานร่วมกับ IETF ในการกำหนดมาตรฐานต่างๆ บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เช่น RFC Number • RFC (Request FOR Comment) เป็นจดหมายเหตุเผยแพร่โดย IETF โดยเพื่ออธิบายวิธีพฤติกรรม, การวิจัย, นวัตกรรม ใช้กับการทำงานของอินเทอร์เน็ตและ การเชื่อมต่อระบบอินเทอร์เน็ต. รูปแบบ RFC + Number

  19. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา RFC (Request For Comment) • ใน เดือนธันวาคม 1969 นักวิจัยได้เริ่มเผยแพร่ RFCs ผ่านโครงการปฏิบัติงาน ARPANET. • RFC 1, โฮสต์ซอฟต์แวร์ (Host Software) ที่เขียนโดย Steve Crocker ของมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย และเผยแพร่ในวันที่เมษายน 7, 1969.

  20. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ตัวอย่างหมายเลข RFC • RFC 2045 ---> .jpg • Network Working Group N. Freed Request for Comments: 2045 InnosoftObsoletes: 1521, 1522, 1590 N. BorensteinCategory: Standards Track First Virtual November 1996 Multipurpose Internet Mail Extensions (MIME)Part One: Format of Internet Message Bodies • Status of this Memo This document specifies an Internet standards track protocol for the Internet community, and requests discussion and suggestions for improvements. Please refer to the current edition of the "Internet Official Protocol Standards" (STD 1) for the standardization state and status of this protocol. Distribution of this memo is unlimited.

  21. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา RFC อื่นๆ • Echo Protocol J. Postel [ May 1983 ] ( TXT = 1237 bytes)(Also RFC0862) (Status: STANDARD) • File Transfer Protocol J. Postel, J. Reynolds [ October 1985 ] ( TXT = 147316 bytes)(Obsoletes RFC0765) (Updated by RFC2228, RFC2640, RFC2773, RFC3659) (Also RFC0959) (Status: STANDARD) • RFC 2045 - MIME formats and encodings • RFC 2046 - Definition of media types • RFC 2077 - Model top-level media type • RFC 3023 - Media types based on XML • RFC 4288 - Media type specifications and registration procedures

  22. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา RFC แบบแปลกๆ • RFC1149 - Standard for the transmission of IP datagrams on avia • RFC2324 - Hyper Text Coffee Pot Control Protocol (HTCPCP/1.0) • RFC2550 - Y10K and Beyond

  23. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา BLS (Burapha Linux Server) บูรพาลีนุกซ์เซิร์ฟเวอร์

  24. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ความเป็นมาของ BLS • ระบบปฏิบัติการบูรพาลีนุกซ์ เป็นระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ประเภทหนึ่งซึ่งเป็นงานวิจัยที่ได้มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2539 จนถึงปัจจุบัน ซึ่งเป็นลีนุกซ์ดิสทริบิวชั่นที่พัฒนาโดยคณาอาจารย์และนิสิตภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ซึ่งตั้งใจที่จะพัฒนาเพื่อใช้ในการเรียนการสอน อีกทั้งใช้เป็นเครื่องเซิร์ฟเวอร์ สำหรับระบบเครือข่ายในภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ • วัตถุประสงค์ของบูรพาลีนุกซ์ • เพื่อใช้ในการเรียนการสอนของนิสิตภายในภาควิชา • เพื่อใช้เป็นเครื่องเซิร์ฟเวอร์สำหรับระบบเครือข่ายในภาควิชา • เพื่อใช้เป็นเครื่องเซิร์ฟเวอร์สำหรับระบบเครือข่ายในภาควิชา

  25. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ความเป็นมาของ BLS (ต่อ) • เพื่อให้สามารถนำเอาระบบปฏิบัติการบูรพาลีนุกซ์ไปใช้ในการพัฒนาด้านซอฟต์แวร์ที่เป็นประโยชน์ต่อไป • เพื่อผลิตบุคลากรที่มีความสามารถในเรื่องการดูแลและพัฒนาระบบปฏิบัติการลีนุกซ์ • เพื่อเผยแพร่ประชาสัมพันธ์และรณรงค์ให้คนไทยหันมาใช้ลีนุกซ์ • เพื่อให้นิสิตและผู้เข้าร่วมวิจัยได้เรียนรู้เกี่ยวกับแนวความคิดของเทคโนโลยีโอเพนซอร์ส • เพื่อให้นิสิตและผู้เข้าร่วมวิจัยมีความรู้ความสามารถในการติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์โดยใช้บูรพาลีนุกซ์ • เพื่อส่งเสริมให้นิสิตและผู้เข้าร่วมวิจัยมีทักษะในการพัฒนาบูรพาลีนุกซ์และเทคโนโลยีโอเพนซอร์ส • เพื่อส่งเสริมนโยบายของรัฐบาลในเรื่องลดการใช้ซอฟต์แวร์ที่มีลิขสิทธิ์ที่มีราคาแพง

  26. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา บริการบนบูรพาลีนุกซ์ • บูรพาลีนุกซ์เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นบนพื้นฐานของการให้บริการแบบเครื่องแม่ข่าย หรือที่รู้จักกันทั่วไปว่า การให้บริการแบบเซิร์ฟเวอร์ ดังนั้น การให้บริการในระบบบูรพาลีนุกซ์ที่มีให้หลังจากการติดตั้งระบบนั้นครบถ้วนตามการให้บริการขั้นพื้นฐานอยู่แล้ว เช่น • การให้บริการระบบขนส่งไฟล์ผ่านเน็ตเวิร์ค (FTP) • การให้บริการการรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-Mail) • การให้บริการเว็บเซิร์ฟเวอร์ (Apache) • การให้บริการดาต้าเบสเซิร์ฟเวอร์ (Database Server) เป็นต้น

  27. WEB SERVER

  28. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา เว็บเซิร์ฟเวอร์ ( Web Server ) • เครื่องที่ให้บริการเว็บ • OS จะเป็นผู้ให้บริการ บาง OS มีบริการเหล่านี้ติดตั้งมาพร้อมกันแล้ว บาง OS ต้องมาติดตั้งเพิ่ม เช่น Linux, Windows Server, Max OSX เป็นต้น ตัวอย่างเว็บเซิร์ฟเวอร์ ได้แก่ • Apache • IIS • Web Sphere • ………….

  29. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ความสามารถของ Web Server Web Server มีความสามารถต่างๆ ได้แก่ • (1) การติดต่อผ่าน protocol TCP/IP, HTTP และ HTTPS (secured HTTP) • (2) การรองรับชนิดของไฟล์ MIME type การติดต่อ file system ของ server เพื่อดำเนินการกับไฟล์ที่ถูกเรียกใช้ตามชนิดของไฟล์นั้น เช่น HTML static content, image, media

  30. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ความสามารถของ Web Server (ต่อ) • (3) การติดต่อส่วนขยายสำหรับทำงานร่วมกับ server side program เพื่อรองรับ dynamic content โดยมี API/CGI ให้ส่วนขยายติดต่อ • (4) การเก็บ Log จากการเข้าใช้งาน ซึ่งสามารถใช้ตรวจสอบในภายหลังหรือนำไปจัดทำสถิติ • (5) ชื่อ Host สำหรับรองรับ Virtual host • (6) การแปลง URL เป็น path ใน file system

  31. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา Apache ในบูรพาลีนุกซ์ • ในบูรพาลีนุกซ์ได้มีการติดตั้งไว้เรียบร้อยแล้ว โดยอยู่ที่ /etc/apache ซึ่งผู้ดูแลระบบเท่านั้นจึงจะสามารถเข้าไปดำเนินการแก้ไขได้

  32. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ตั้งค่า httpd.conf • เนื้อความใน httpd.confประกอบด้วยเย้อความแบ่งออกเป็น 3 ส่วนได้แก่ • Global Environment การควบคุมโดยภาพรวมของ Apache • Main Server Configuration การตั้งค่าให้เหมาะกับเครื่องเซิร์ฟเวอร์หลัก • Virtual Hosts การตั้งค่าให้กับเวอร์ชวลโฮสต์

  33. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา อะไรคือ Main Server and Virtual Hosts /var/www htdocs iserl osthai

  34. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา อะไรคือ Main Server and Virtual Hosts /var/www bls iserl osthai

  35. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา อะไรคือ Main Server and Virtual Hosts /var/www bls iserl osthai Redirect

  36. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา อะไรคือ Main Server and Virtual Hosts /var/www bls iserl osthai Redirect

  37. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา Global Environment : ไดเรกทีฟที่ควรรู้จัก • Timeout • KeepAlive On / KeepAlive Off • MaxKeepAliveRequests • KeepAliveTimeout • LoadModule

  38. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา Main Server Configuration: ไดเรกทีฟที่ควรรู้จัก • DefaultType • ErrorDocument • Redirect • Alias • UseDir

  39. ภาควิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ คระวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

More Related