1 / 33

การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง

การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง. การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง (Measures of central tendency). การใช้ตัวเลขเพียงตัวเดียวหรือค่าใดค่าหนึ่งเพื่อเป็นตัวแทนและบรรยายลักษณะข้อมูลแต่ละชุด เพื่อสะดวกในการจดจำและสรุปเรื่องราวที่สำคัญของข้อมูลชุดนั้น. วิธีการวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง.

marny-cook
Télécharger la présentation

การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลางการวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง

  2. การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง (Measures of central tendency) การใช้ตัวเลขเพียงตัวเดียวหรือค่าใดค่าหนึ่งเพื่อเป็นตัวแทนและบรรยายลักษณะข้อมูลแต่ละชุด เพื่อสะดวกในการจดจำและสรุปเรื่องราวที่สำคัญของข้อมูลชุดนั้น

  3. วิธีการวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลางวิธีการวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง • ตัวกลางเลขคณิต (Arithmetic mean) • มัธยฐาน (Median) • ฐานนิยม (Mode)

  4. ตัวกลางเลขคณิต • ค่าเฉลี่ย (Mean) หรือตัวกลาง คือค่าที่ได้จากการเอาผลรวมของข้อมูลทั้งหมดหารด้วยจำนวนข้อมูลทั้งหมด • สัญลักษณ์คือ x (อ่านว่า เอ็กซ์-บาร์) ของกลุ่มตัวอย่าง

  5. ค่าเฉลี่ยของข้อมูลที่ยังไม่ได้แจกแจงความถี่ค่าเฉลี่ยของข้อมูลที่ยังไม่ได้แจกแจงความถี่ X = X n X แทน ผลรวมทั้งหมดของข้อมูล N แทน จำนวนข้อมูลทั้งหมดของ กลุ่มตัวอย่าง (กรณีกลุ่มตัวอย่าง)

  6. กรณีกลุ่มประชากร  = X N X แทน ผลรวมทั้งหมดของข้อมูล N แทน จำนวนข้อมูลทั้งหมดของ ประชากร

  7. จงหาค่าเฉลี่ยของน้ำหนักของบรรณารักษ์ 5 คน 45 50 55 60 65 (45+50+55+60+65)/5 275/5 55

  8. ค่ากลางของข้อมูลที่มีการแจกแจงความถี่ค่ากลางของข้อมูลที่มีการแจกแจงความถี่ X = fX N N= f

  9. X 45 50 55 60 65 f 5 4 3 2 1 N=f=15 fX 225 200 165 120 65 fX=775 775/15 = 51.667

  10. ความพึงพอใจต่อบริการสืบค้น E-Journal X f fX มากที่สุด 5 525 มาก 4 5 20 ปานกลาง 3 10 30 น้อย 2 15 30 น้อยที่สุด 1 20 20

  11. f=N =5+5+10+15+20 =55 fX = 25+20+30+30+20 X =125/55 =2.273

  12. ค่าเฉลี่ยข้อมูลที่ได้แจกแจงความถี่แบบจัดกลุ่มค่าเฉลี่ยข้อมูลที่ได้แจกแจงความถี่แบบจัดกลุ่ม ใช้สูตรเดียวกันกับข้อมูลแจกแจงความถี่แบบไม่จัดกลุ่ม คือ X = fX N N= f แต่แทนค่า X ด้วยค่ากึ่งกลางของแต่ชั้น (ขีดจำกัดล่างบวกขีดจำกัดบน หารด้วยสอง)

  13. ประสบการณ์ทำงานของบรรณารักษ์ประสบการณ์ทำงานของบรรณารักษ์ ช่วงปี X f fX 1-5 3 20 60 6-10 8 15 120 11-15 13 10 130 16-20 18 5 90 21-25 23 5 115

  14. N = f = 20+15+10+5+5 = 55 fX = 60+120+130+90+115 = 515 X = 515/55 = 9.364

  15. คุณสมบัติที่สำคัญของค่าเฉลี่ยคุณสมบัติที่สำคัญของค่าเฉลี่ย • ผลรวมของความต่างระหว่างข้อมูลแต่ละตัวจากค่าเฉลี่ยของคะแนนชุดนั้นมีค่าเท่ากับ 0 • ผลรวมของความต่างกำลังสองของข้อมูลแต่ละตัวจากจำนวน M จะน้อยที่สุดเมื่อ M เท่ากับค่าเฉลี่ยของข้อมูลชุดนั้น

  16. ค่าเฉลี่ยหรือตัวกลางของข้อมูลชุดใดๆ จะอยู่ระหว่างข้อมูลที่มีค่ามากสุดและข้อมูลที่มีค่าน้อยสุด • ในกรณีที่ข้อมูลทุกตัวเพิ่มขึ้นหรือลดลงเท่าๆ กัน ค่าเฉลี่ยของข้อมูลจะเปลี่ยนไปตามค่านั้น • ถ้าข้อมูลทุกตัวหารหรือคูณด้วยค่าคงที่ตัวหนึ่ง ค่าเฉลี่ยจะเปลี่ยนไปเท่ากับค่าเฉลี่ยเดิมหารหรือคูณด้วยค่าคงที่ตัวนั้นๆ

  17. มัธยฐาน (Median/Mdn/Md) • ค่าที่อยู่ในตำแหน่งกึ่งกลางของข้อมูลทั้งชุด เมื่อเรียงข้อมูลจากมากไปหาน้อยหรือจากน้อยไปหามาก • ค่าที่แสดงให้ทราบว่ามีจำนวนข้อมูลที่มากกว่าและน้อยกว่าค่านี้อยู่ประมาณ 50 % (แบ่งข้อมูลออกเป็นสองฝ่ายเท่าๆ กัน)

  18. 55คือค่ามัธยฐานของน้ำหนักของบรรณารักษ์55คือค่ามัธยฐานของน้ำหนักของบรรณารักษ์ แสดงให้ทราบว่า มีบรรณารักษ์ 50 % ที่มีน้ำหนักมากกว่า 55 Kg และ มีบรรณารักษ์ 50% ที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 55 Kg

  19. ค่ามัธยฐานข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่ค่ามัธยฐานข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่ • นำข้อมูลเรียงจากมากไปน้อย หรือน้อยไปมา • มัธยฐานคือข้อมูลตัวที่อยู่กึ่งกลางของชุดนั้น • 2 3 4 5 6 7 มัธยฐานคือ 4

  20. ถ้าข้อมูลเป็นเลขคู่ มัธยฐานคือผลบวกข้อมูลสองตัวที่อยู่กึ่งกลางหารด้วยสอง 2 4 6 8 มัธยฐานคือ 4+6 / 2 คือ 5

  21. การใช้ค่ามัธฐานแทนค่าเฉลี่ยในกรณีที่ข้อมูลทั้งชุดที่มีค่าใดค่าหนึ่งต่างจากกลุ่มมาก เช่น วันลา • 2 3 4 5 6 42 ค่าเฉลี่ย = มัธยฐาน =

  22. 1 3 5 7 9 11 13 • 2 3 4 7 8 10 45 • 1 3 7 910 • 2 4 7 9 30 • 2 4 6 8 10 12 • 1 2 3 6 8 11 13 30

  23. ฐานนิยม (Mode/Mo) • คือค่าของข้อมูลตัวหนึ่งที่มีความถี่สูงที่สุด หรือ ค่าที่ปรากฏบ่อยที่สุด • 1 2 2 3 3 4 4 4 4 • 1 2 2 3 3 3 4 4 4 • 1 2 3 4 5 6 7 8 9

  24. ประสบการณ์ทำงานของบรรณารักษ์ประสบการณ์ทำงานของบรรณารักษ์ X f 3 20 ฐานนิยม คือ 8 15 13 10 18 5 23 5

  25. ข้อมูลที่จัดกลุ่ม ฐานข้อมูล คือค่ากลางของชั้นคะแนนที่มีความถี่สูงสุด ช่วงปี X f 1-5 3 20 ฐานนิยมคือ 6-10 8 15 11-15 13 10 16-20 18 5 21-25 23 5

  26. ประโยชน์ของฐานนิยม • ใช้วัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลางของข้อมูลที่อยู่ในมาตรานามบัญญัติ (Nominal scale) หรือข้อมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative data) ซึ่งไม่สามารถหาค่าเฉลี่ยหรือมัธยฐานได้

  27. ถ้าต้องการวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลางของข้อมูลต่อไปนี้ถ้าต้องการวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลางของข้อมูลต่อไปนี้ • นักศึกษา มร.ชอบพรรคการเมืองใดมากที่สุด ไทยรักเธอ 5 ประชาเบ่งบาน 4 มหาประชา 2 ชาติเธอ 3 ฐานนิยมคือ พรรคไทยรักเธอ

  28. ข้อมูลนักแสดงหญิงคนโปรดของคนอายุ 40 ขึ้นไป • จารุณี 5 หมื่น • เนาวรัตน์ 4 หมื่น • สุพรรณษา 3 หมื่น • จินตรา 6 หมื่น ฐานนิยม คือ จินตรา

  29. โค้งปกติ (Normal Curve) X, Mdn, Mo

  30. โค้งเบ้ขวา Mo, Mdn, X

  31. โค้งเบ้ซ้าย X, Mdn, Mo

  32. แบบฝึกหัด • จงหาค่าเฉลี่ย มัธยฐานและฐานนิยมของข้อมูลต่อไปนี้ • 5 4 7 6 9 • 11 21 22 11 12 • 4 4 5 5 3 • 8 10 12 14 16 8

  33. จงหาค่าเฉลี่ย และฐานนิยมของข้อมูลต่อไปนี้ ช่วงคะแนน ความถี่ 1-3 2 4-6 3 7-9 4 10-12 2 13-15 1

More Related