540 likes | 628 Vues
เทคนิคและหลักเกณฑ์การกำหนดเป้าหมาย และแผนอนุรักษ์พลังงานสำหรับระบบปรับอากาศ. เทคนิคและหลักเกณฑ์การกำหนดเป้าหมาย และแผนอนุรักษ์พลังงานสำหรับระบบปรับอากาศ. 1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า 2. การวิเคราะห์และตรวจสอบการใช้พลังงาน
E N D
เทคนิคและหลักเกณฑ์การกำหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงานสำหรับระบบปรับอากาศเทคนิคและหลักเกณฑ์การกำหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงานสำหรับระบบปรับอากาศ
เทคนิคและหลักเกณฑ์การกำหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงานสำหรับระบบปรับอากาศเทคนิคและหลักเกณฑ์การกำหนดเป้าหมายและแผนอนุรักษ์พลังงานสำหรับระบบปรับอากาศ 1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า 2. การวิเคราะห์และตรวจสอบการใช้พลังงาน 3. เทคนิคการคำนวณหาต้นทุนของการใช้พลังงานของระบบปรับ อากาศจำแนกตามประเภท 4. การศึกษาและหามาตรการอนุรักษ์พลังงาน 5. เทคนิคการบันทึกการใช้พลังงาน 6. การจัดทำรายงานเสนอฝ่ายบริหาร
1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า 1.1 อัตราค่าไฟฟ้า 1 ) อัตราปกติ ( Two Part Tariff ) 2 ) อัตราตามช่วงเวลาของวัน ( TOD Rate ) 3 ) อัตราตามช่วงเวลาของการใช้ ( TOU Rate )
> อัตราปกติ P = 30 - 999 กิโลวัตต์ และ E < 250,000 หน่วยต่อเดือน
ประเภทที่ 3.1 อัตราปกติ P = 30 - 999 กิโลวัตต์ และ E < 250,000 หน่วยต่อเดือน 28 วัน มี Demand เกิดขึ้น 2,688 ครั้ง 29 วัน มี Demand เกิดขึ้น 2,784 ครั้ง 30 วัน มี Demand เกิดขึ้น 2,880 ครั้ง 31 วัน มี Demand เกิดขึ้น 2,976 ครั้ง @ Demand ครั้งที่มีค่าสูงที่สุด จะถูกนำไปคิดค่า Demand ตามอัตราที่กำหนดไว้
ประเภทที่ 4.1 อัตราตามช่วงเวลาของวัน ( TOD ) ในช่วงเวลา 24 ชั่วโมงในแต่ละวัน จะถูกแบ่งออกเป็น 3 ช่วง ดังนี้
อัตรา TOD หมายเหตุ * คิดค่า Demand เฉพาะส่วนที่เกินช่วง On Peak เท่านั้น
ประเภทที่ 4.1 อัตราตามช่วงเวลาของวัน ( TOD ) Demand ครั้งที่มีค่าสูงสุด 2 ค่า ( 1 ค่าในช่วง On Peak และอีก 1 ค่าในช่วง Partial Peak ) จะถูกนำไปคิดค่า Demand จำนวนวันใน จำนวนครั้งที่เกิด Demand ในช่วง
อัตรา TOD 00:00 08:00 18:3021:3024:00 น.
อัตรา TOD 1. P < 1,000 kW และ E 250,000 หน่วยต่อเดือน - รายเดิม เลือกอัตราTOU (หรืออัตราปกติ) - รายใหม่ ใช้อัตรา TOU 2. ผู้ใช้ TOU เดิม ต้องใช้ TOU ใหม่ 3. P > 1,000 kW หรือ E > 250,000 หน่วยต่อเดือน ตั้งแต่เดือน ตุลาคม 2543 ต้องใช้อัตรา TOU
> อัตรา TOD
1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า 1.2 ประโยชน์ที่ได้จากการลดพลังไฟฟ้าสูงสุด 1 ) ได้ลดค่าไฟฟ้า ( ค่าไฟฟ้าต่อหน่วยถูกลง ) 2 ) ลดภาระต่อระบบไฟฟ้าของหน่วยงาน ทำให้สามารถจ่ายโหลดอื่น ๆ เพิ่มเติมได้มากขึ้น 3 ) ระบบไฟฟ้าของประเทศมีประสิทธิภาพสูงขึ้น
ความสัมพันธ์ของค่าไฟฟ้ากับลักษณะการใช้ไฟฟ้าความสัมพันธ์ของค่าไฟฟ้ากับลักษณะการใช้ไฟฟ้า อัตราปกติ 1.7034 1.7034 ( T = จำนวนชั่วโมงในเดือนที่คิดค่าไฟฟ้า )
การวิเคราะห์ค่าไฟฟ้า : อัตราปกติ
การเพิ่มค่า Load Factor 1. ลดความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุด P ให้เหลือต่ำสุดเท่าที่จะทำได้ โดยการใช้ไฟฟ้าให้สม่ำเสมอให้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ 2. เพิ่มการใช้พลังงานไฟฟ้า E ให้สูงขึ้น โดยการเพิ่มกิจกรรม เช่น เพิ่มช่วงการทำงานเป็น 2 กะ หรือ 3 กะ
ความสัมพันธ์ของค่าไฟฟ้ากับลักษณะการใช้ไฟฟ้าความสัมพันธ์ของค่าไฟฟ้ากับลักษณะการใช้ไฟฟ้า อัตรา TOD ( ถ้า P > PP ให้ PP - P = 0 )
การวิเคราะห์ค่าไฟฟ้า : อัตรา TOD ต้องการลด บาทต่อหน่วย ต้องลด P/PP และเพิ่มค่า LF
การวิเคราะห์ค่าไฟฟ้า : อัตรา TOD ต้องการลด บาทต่อหน่วย ต้องลด P/PP , PP/OP และเพิ่มค่า LF
การวิเคราะห์ค่าไฟฟ้า : อัตรา TOD
การลดอัตราส่วน P / PP 1. ย้ายโหลดตอนหัวค่ำ ( 18:30 - 21:30 ) ไปเดินตอนกลางคืน ( 21:30 - 08:00 ) จะลดค่าไฟฟ้าได้ 226.17 บาท/kW 2. ย้ายโหลดตอนหัวค่ำไปเดินตอนกลางวัน ( 08:00 - 18:30 ) จะลดค่าไฟฟ้าได้ 167.29 บาท / kW. 3. ปั่นไฟใช้เองตอนหัวค่ำ 4. หากทำงานแบบ 2 กะ ให้แยกเวลาทำงานระหว่างกะตอนหัวค่ำ จะช่วยลดค่าไฟฟ้าได้ 226.17 บาท / kW.
แนวทางการลดค่าไฟฟ้า อัตรา TOD ต้องหลีกเลี่ยงการใช้ไฟฟ้าในช่วงเวลาหัวค่ำ ( 18:30 - 21:30 น. ของทุกวัน ) ให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะทำได้ พลาดครั้งเดียว ( แค่ 15 นาที ) ก็ไม่ได้ เพิ่มการใช้ไฟฟ้าในช่วงกลางคืนถึงตอนเช้า ( 21:30 - 08:00 ) น. แทนการ ใช้ตอนหัวค่ำ ใช้ไฟฟ้าตอนกลางวันให้สม่ำเสมอที่สุด
ความสัมพันธ์ของค่าไฟฟ้ากับลักษณะการใช้ไฟฟ้าความสัมพันธ์ของค่าไฟฟ้ากับลักษณะการใช้ไฟฟ้า เสาร์ อาทิตย์ และวันหยุดราชการปกติ อัตรา TOU - 2
การวิเคราะห์ค่าไฟฟ้า : อัตรา TOU ต้องการลด บาทต่อหน่วย ต้องลด E 1 และเพิ่มค่า LF
การวิเคราะห์ค่าไฟฟ้า : อัตรา TOU ต้องการลด บาทต่อหน่วย ต้องลด E1 , P และเพิ่มค่า LF E OP
การวิเคราะห์ค่าไฟฟ้า : อัตรา TOU
แนวทางการลดค่าไฟฟ้า อัตรา TOU ใช้ไฟฟ้าตอนกลางวันถึงหัวค่ำ ( 09:00 - 22:00 น. ) ของวันจันทร์ - ศุกร์ ยกเว้นวันหยุดราชการตามปกติให้สม่ำเสมอที่สุด เปลี่ยนไปใช้ไฟฟ้าตอนกลางคืนถึงช่วงเช้า ( 22:00 - 09:00 น. ) ของวันจันทร์ - ศุกร์ แทนการใช้ตอนกลางวันถึงหัวค่ำ ใช้ไฟฟ้าในช่วงวันเสาร์ - อาทิตย์และวันหยุดราชการตามปกติให้ได้ประโยชน์มากที่สุดเท่าที่จะทำได้
1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า 1.3 แนวทางการลดพลังไฟฟ้าสูงสุด 1 ) เปลี่ยนแปลงเวลาทำงานของเครื่องจักรขนาดใหญ่ ไม่ให้ ทำงานพร้อม ๆ กัน 2 ) ลดปริมาณการใช้ไฟฟ้าของเครื่องจักรลงในเวลาที่มีการใช้ งานพร้อม ๆ กัน 3 ) เลือกใช้อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง 4 ) ใช้ระบบเก็บสะสมพลังงานแทนระบบปกติ เช่น ระบบ ปรับอากาศแบบ ICE STORAGE
1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า 1.4 วิธีการควบคุมพลังไฟฟ้าสูงสุด 1 ) ใช้คนควบคุมให้มีการใช้พลังไฟฟ้าตามที่กำหนด 2 ) ใช้อุปกรณ์ควบคุมอัตโนมัติ เช่น Demand Controller , BAS
1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า 1.4.1 ขั้นตอนในการดำเนินการควบคุมพลังไฟฟ้าสูงสุด 1 ) รวบรวมข้อมูลของอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ 2 ) วางแผนดำเนินการลดค่าพลังไฟฟ้าสูงสุด 3 ) ดำเนินการควบคุมและติดตามผล
1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า 1.4.1.1 การรวบรวมข้อมูลของอุปกรณ์ไฟฟ้าต่าง ๆ 1 ) จัดทำรายการเครื่องจักร / อุปกรณ์ไฟฟ้า 2 ) สำรวจรายละเอียดการใช้งานเครื่องจักร / อุปกรณ์ไฟฟ้า 3 ) จัดทำ Single Diagram ที่สมบูรณ์ 4 ) รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับการผลิต ( โรงงาน ) การทำงาน( อาคาร ) และผลกระทบหากมีการเปลี่ยนแปลงวิธีการใช้งานเครื่องจักร / อุปกรณ์ไฟฟ้า 5 ) วิเคราะห์สภาพการใช้ไฟฟ้า โดยการหาค่า Load Factor 6 ) สำรวจการใช้ไฟฟ้ารายวัน ( หา Load Curves )
1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า ตัวอย่างการวิเคราะห์หาค่าตัวประกอบโหลดรายวัน
1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า
1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า 1.4.1.2 การวางแผนดำเนินการลดค่าพลังไฟฟ้าสูงสุด 1 ) เปลี่ยนแปลงเวลาทำงานของเครื่องจักร 2 ) ลดปริมาณการใช้ไฟฟ้าของเครื่องจักร 3 ) หยุดการใช้งานเครื่องจักรในช่วงเวลากำหนด 4 ) ใช้พลังงานรูปแบบอื่นแทนไฟฟ้า
1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า แนวทางในการลดค่าพลังไฟฟ้าสูงสุด 1 ) เปลี่ยนเวลาทำงานของเครื่องจักร 2 ) ลดปริมาณการใช้ไฟฟ้าของเครื่องจักรลง 3 ) ใช้วิธีการสะสมพลังงานล่วงหน้า 4 ) ลดขนาดของเครื่องจักรให้เหมาะสมกับขนาดของโหลด
1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า แนวทางในการลดค่าพลังไฟฟ้าสูงสุด 5 ) ใช้พลังงานรูปแบบอื่น เช่น LPG , น้ำมัน แทนไฟฟ้า 6 ) เดินเครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำรองจ่ายโหลดแทน 7 ) ใช้อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง 8 ) ปรับเปลี่ยนวิธีการทำงาน 9 ) สร้างจิตสำนึกให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการลดไฟฟ้า
1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า 1.4.1.3 การดำเนินการควบคุมและติดตามผล 1 ) ทดลองปฏิบัติ 2 ) บันทึกผลการดำเนินงาน 3 ) ตรวจสอบผล - วัด Load Curves รายวัน - จากใบเสร็จรับเงิน วิเคราะห์ค่า LFMและ B/kWh
1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า 1.4.2 การหาข้อมูลการใช้ไฟฟ้ารายวัน ( Load Curves ) 1 ) จุดประสงค์ • ใช้วิเคราะห์หา LFD • ใช้วางแผนการใช้งานเครื่องจักร • ใช้ควบคุมการใช้พลังงานของหน่วยงาน • ใช้ตรวจสอบความผิดปกติอื่น ๆ 2 ) วิธีการหา • จาก Power Recorder • จาก kWh Meter • จากลักษณะการใช้งานเครื่องจักร
1. วิธีจัดการการใช้พลังงาน เพื่อลดความต้องการพลังไฟฟ้า 1.4.3 การประยุกต์ใช้ข้อมูล 1 ) เพื่อตรวจสอบสภาพการใช้ไฟฟ้า 2 ) เพื่อวางแผนการใช้ไฟฟ้าให้เหมาะสม และมีประสิทธิภาพสูงขึ้น 3 ) เพื่อตรวจสอบความสัมฤทธิ์ผลของการดำเนินการ
2. การตรวจสอบและการวิเคราะห์การใช้พลังงาน 2.1 การรวบรวมข้อมูล 1 ) ชนิดและปริมาณการใช้พลังงานต่อปี 2 ) ปริมาณผลผลิต ( โรงงาน ) หรือกิจกรรม ( อาคาร) ของหน่วยงาน 3 ) แผนผังแสดงการใช้พลังงานในระบบต่าง ๆ 4 ) รายละเอียดอุปกรณ์หลักที่ใช้พลังงาน 5 ) รายละเอียดการตรวจวัดสภาพการทำงาน และการใช้พลังงานของอุปกรณ์ หลักต่าง ๆ 6 ) รายละเอียดการใช้พื้นที่ของอาคาร 7 ) รายละเอียดโครงสร้างกรอบอาคาร
2. การตรวจสอบและการวิเคราะห์การใช้พลังงาน 2.2 การวิเคราะห์และตรวจสอบ 1 ) วิเคราะห์หาค่า OTTV ( W/m2 ) 2 ) วิเคราะห์หาค่า RTTV ( W/m2 ) 3 ) วิเคราะห์ค่า W/m2ในระบบแสงสว่าง 4 ) วิเคราะห์ประสิทธิภาพการทำความเย็น ( kW/TR ) 5 ) วิเคราะห์ค่าดัชนีการใช้พลังงานในรูปแบบต่าง ๆ
2. การตรวจสอบและการวิเคราะห์การใช้พลังงาน ศักยภาพการอนุรักษ์พลังงาน 1 ) การลดความร้อนจากแสงอาทิตย์ที่เข้ามาในอาคาร 2 ) การปรับอากาศอย่างมีประสิทธิภาพ 3 ) การใช้วัสดุก่อสร้างอาคารที่ช่วยอนุรักษ์พลังงาน 4 ) การใช้แสงสว่างในอาคารอย่างมีประสิทธิภาพ 5 ) การใช้เครื่องจักร ฯ ที่ก่อให้เกิดการอนุรักษ์พลังงาน 6 ) การใช้ระบบควบคุมการทำงานของเครื่องจักร 7 ) การลดการสูญเสียจากระบบต่าง ๆ
3. เทคนิคการคำนวณหาต้นทุนของการใช้พลังงาน ของระบบปรับอากาศจำแนกตามประเภท 3.1 แนวทางในการคำนวณ 1 ) รวบรวมข้อมูลการใช้และค่าใช้จ่ายพลังงานเพื่อนำมา วิเคราะห์ต้นทุนเฉลี่ยของพลังงาน 2 ) ทำสัดส่วนการใช้พลังงานแยกตามระบบ เพื่อนำมาหาต้น ทุนการใช้พลังงานของแต่ละระบบ
3. เทคนิคการคำนวณหาต้นทุนของการใช้พลังงานของ ระบบปรับอากาศจำแนกตามประเภท สัดส่วนการใช้พลังงานในระบบปรับอากาศ
4. การศึกษาและหามาตรการอนุรักษ์พลังงาน 4.1 การศึกษาและหามาตรการอนุรักษ์พลังงาน ปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่ลดลงจากการใช้งานเกิดจาก 1 ) ลดโหลดของเครื่องจักร ---> เพิ่มประสิทธิภาพของระบบ 2 ) ลดเวลาใช้งาน ---> เพิ่มประสิทธิภาพการใช้งาน 3 ) ดำเนินการทั้ง 2 แบบผสมกัน
4. การศึกษาและหามาตรการอนุรักษ์พลังงาน 4.2 เปรียบเทียบข้อมูลกับมาตรฐาน สภาพการทำงานปัจจุบัน ---> สภาพการทำงานตอนที่ ซื้อมาใหม่ ๆ ---> เทคโนโลยีใหม่ที่มาทดแทนของเดิม 1 ) สมรรถนะการทำงานของเครื่องจักรตอนที่ยังอยู่ในสภาพใหม่ 2 ) สมรรถนะการทำงานของเครื่องจักรที่ผู้ผลิตได้ออกแบบไว้ 3 ) สมรรถนะการทำงานของเครื่องจักรรุ่นใหม่ที่มีประสิทธิภาพสูงกว่า
4. การศึกษาและหามาตรการอนุรักษ์พลังงาน 4.3 เทคนิคเบื้องต้นในการอนุรักษ์พลังงานในระบบปรับอากาศ 1 ) ทดสอบการทำงานและปรับสภาพทุกปี 2 ) เริ่มเดินเครื่องช้า แต่หยุดเดินเครื่องเร็ว 3 ) เดินเครื่องทำความเย็นให้เหมาะสมกับสภาพโหลด 4 ) ตั้งอุณหภูมิของน้ำเย็นและน้ำหล่อเย็นอย่างเหมาะสม 5 ) ตั้งอุณหภูมิอากาศในห้องที่ค่าพอเหมาะ 6 ) ใช้ปริมาณอากาศบริสุทธิ์ที่พอเหมาะ
4. การศึกษาและหามาตรการอนุรักษ์พลังงาน 4.3 เทคนิคเบื้องต้นในการอนุรักษ์พลังงานในระบบปรับอากาศ 7 ) ควบคุมคุณภาพของน้ำเพื่อป้องกันการเกิดตะกรัน 8 ) ทำความสะอาด Cooling Coil อย่างสม่ำเสมอ 9 ) ทำความสะอาดแผงกรองอากาศอย่างสม่ำเสมอ 10 ) ล้างท่อน้ำ ( Strainer ) ให้สะอาดอยู่เสมอ 11 ) ตรวจสอบและซ่อมรอยรั่วในระบบส่งลมเย็น 12 ) ตรวจสอบและซ่อมรอยรั่วในระบบส่งน้ำเย็น
4. การศึกษาและหามาตรการอนุรักษ์พลังงาน 4.3 เทคนิคเบื้องต้นในการอนุรักษ์พลังงานในระบบปรับอากาศ 13 ) ตรวจสอบสภาพของฉนวนอย่างสม่ำเสมอ 14 ) ขจัดสิ่งกีดขวางทางลมเข้าและออกจากชุดระบายความร้อน 15 ) บำรุงรักษา( การหล่อลื่น และการปรับความตึงของสายพาน ) อย่างสม่ำเสมอ 16 ) ลดความร้อนจากภายนอกเข้าสู่อาคาร 17 ) ลดความร้อนที่เกิดขึ้นภายในตัวอาคาร
5. เทคนิคการบันทึกการใช้พลังงาน 5.1 การวิเคราะห์ข้อมูลในอดีต ทำให้ทราบแนวโน้ม 1 ) กำลังเพิ่มขึ้น หรือ ลดลง ( พลังงาน , ราคา ) 2 ) ขึ้นกับฤดูกาลหรือไม่ 3 ) มีข้อมูลครบถ้วนสมบูรณ์เพียงใด 4 ) ความสม่ำเสมอของการใช้พลังงาน