1 / 20

โรงเรียนบ้านขามป้อม( สังวาลย์ อนุสรณ์)

โรงเรียนบ้านขามป้อม( สังวาลย์ อนุสรณ์). ยินดีต้อนรับทุกท่าน เข้าสู่การพัฒนาคุณธรรมเสริมสร้างความเป็นไทยและ ความเป็นพลเมืองชาติ เตรียมการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี 2558. โรงเรียนบ้านขามป้อม(สังวาลย์อนุสรณ์). ยินดีต้อนรับทุกท่านเข้าสู่สังคมอาเซียน รวบรวมข้อมูล โดยนางสาวมุทิตา ศรีชุม.

may-webster
Télécharger la présentation

โรงเรียนบ้านขามป้อม( สังวาลย์ อนุสรณ์)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. โรงเรียนบ้านขามป้อม(สังวาลย์อนุสรณ์)โรงเรียนบ้านขามป้อม(สังวาลย์อนุสรณ์) ยินดีต้อนรับทุกท่าน เข้าสู่การพัฒนาคุณธรรมเสริมสร้างความเป็นไทยและ ความเป็นพลเมืองชาติ เตรียมการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี2558 โรงเรียนบ้านขามป้อม(สังวาลย์อนุสรณ์)

  2. ยินดีต้อนรับทุกท่านเข้าสู่สังคมอาเซียนรวบรวมข้อมูล โดยนางสาวมุทิตา ศรีชุม • จากการอบรมพัฒนาคุณธรรมเสริมสร้างความเป็นไทยและความเป็นพลเมืองชาติ ที่จัด ขึ้นในวันที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2554ณ สวนเสาวนีย์ โดยกลุ่มนิเทศ ติดตามและ ประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต 6 ตามหนังสือ เลขที่ ศธ04067/ 3018 ลงวันที่ 2 เดือน กันยายน พ.ศ. 2554เพื่อ ดำเนินการส่งเสริมคุณธรรม ความเป็นพลเมือง เตรียมการเข้าสู่ประชาคมอาเซียนในปี 2558 และให้ผู้เข้าอบรมนำความรู้ที่ได้รับไปขยายผลในเรื่องการส่งเสริมให้มีคุณธรรม และสร้างความสำนึกความเป็นชาติไทยและความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน

  3. วัตถุประสงค์ 1.เพื่อการพัฒนาผู้เรียนให้มีจริยธรรม คุณธรรม และศีลธรรม การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความเป็นไทย สู่ชาวโลก 2.ปลูกจิตสำนึกในความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ การปกครองตามระบอบประชาธิปไตย 3.ให้ความรู้เตรียมรับการเปลี่ยนแปลงสู่อาเซียนในปี 2558 4. ตอบสนองนโยบายการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระสังคมศึกษาให้สูงขึ้น โดยลดตัวถ่วง เสริมตัวเด่น เน้นมาตรฐาน

  4. หลักสูตรแกนกลางการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สาระที่เกี่ยวกับสังคมประชาธิปไตย • สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐานที่ ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตาม หลักธรรม เพื่ออยู่ ร่วมกันอย่างสันติสุข • สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม มาตรฐานที่ ส 2.1เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และ ธำรงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และสังคมโลกอย่างสันติสุข มาตรฐานที่ ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธำรง รักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข • สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์ มาตรฐานที่ ส 4.3 เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธำรงความเป็นไทย

  5. ความหมายของพลเมืองได้แก่ การมีอิสรภาพและพึ่งตนเองได้ เข้าใจระบบประชาธิปไตยและมีส่วนร่วม รับผิดชอบต่อสังคม เคารพสิทธิผู้อื่น ยอมรับความแตกต่าง และเห็นคนเท่าเทียมกัน

  6. หลักสูตรความเป็นพลเมืองหลักสูตรความเป็นพลเมือง กระบวนการของหลักสูตรความเป็นพลเมืองมี 6 ขั้นตอน ที่สำคัญ ดังนี้ 1) การระบุปัญหานโยบายสาธารณะในชุมชน 2) การเลือกปัญหาเพื่อศึกษาในชั้นเรียน 3) การรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาที่จะศึกษาในชั้นเรียน 4) การพัฒนาแฟ้มผลงานของชั้นเรียน 5) การนำเสนอแฟ้มผลงาน 6) ผลสะท้อนจากประสบการณ์เรียนรู้

  7. คุณสมบัติของผู้เรียนที่สอดคล้องความเป็นพลเมืองคุณสมบัติของผู้เรียนที่สอดคล้องความเป็นพลเมือง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 2. ซื่อสัตย์สุจริต 3. มีวินัย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยู่อย่างพอเพียง 6. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. รักความเป็นไทย 8. มีจิตสาธารณะ

  8. ประชาธิปไตยและจิตอาสา • การส่งเสริมวิถีประชาธิปไตยได้แก่ การรู้จักใช้เหตุผล ความสมัครใจ มีน้ำใจเป็นนักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย ปฏิบัติตามกฎหมาย และทุกคนมีความเท่าเทียมกัน และการมีส่วนร่วมของประชาชนในท้องถิ่นควรส่งเสริมประชาธิปไตยในครอบครัว โรงเรียน และในชุมชน • จิตอาสา เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพด้วยตนเองในลักษณะอาสาสมัครเพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละและมีจิตสาธารณะที่ปฏิบัติด้วยความสมัครใจ ด้วยจิตสำนึกในการให้บริการแก่ส่วนรวม

  9. ธงประจำชาติต่างๆทั้ง 10 ประเทศ ได้แก่ อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย สิงคโปร์ ไทย บรูไนดารุสซาลาม เวียดนาม สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว พม่า และกัมพูชา ตามลำดับการเข้าเป็นสมาชิกสมาคมอาเซียน (ASEAN: Association of South East Asian Nations )การกำเนิดอาเซียน เมื่อ 8 ส.ค.10เริ่มจาก 5 ประเทศก่อน และเรื่อยมาจนถึง 30 เม.ย.42

  10. 10 ประเทศสมาชิกอาเซียน

  11. เพลงสิบชาติอาเซียน(คำร้อง โดย สายัณห์ แก้วพิทักษ์) (สร้อย) อาเซียนอาเซียนเรานั้น สร้างความสัมพันธ์ ทำปฏิญญา อาเซียนนั้นมีชาติใด (ซ้ำ) เราเป็นคนไทย ควรใส่ใจหน่อยหนา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สิบชาติร่วมใจร่วมปรารถนา มีไทย บรูไน สิงคโปร์ อีกทั้งอินโดและก็พม่า มาเลเซีย เวียดนาม ฟิลิปปินส์ สองชาติรวมสิ้น ลาว กัมพูชา สิบชาติภูมิภาคนี้ ร่วมใจไมตรี สามัคคีพัฒนา รวงข้าวมามัดรวมกัน คือความสัมพันธ์เรานั้นนั่นหนา (สร้อย)

  12. สาระประวัติศาสตร์:เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย มีความรัก ความภูมิใจและธำรงความเป็นไทย ประวัติศาสตร์กับการพัฒนาคนในยุคโลกาภิวัตน์

  13. สอนประวัติศาสตร์ไทยอย่างไรจึงจะดีสอนประวัติศาสตร์ไทยอย่างไรจึงจะดี

  14. ไทยแต่เดิมมีชื่อว่า "ประเทศสยาม" หรือ "สยามประเทศ" • ประเทศไทย ประเทศไทยตั้งอยู่ในทวีปเอเชียในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในบริเวณพื้นที่ที่เรียกว่า "คาบสมุทรอินโดจีน" ซึ่งมีความหมายมาจากการเป็นคาบสมุทรที่เชื่อมต่อ คืออยู่ระหว่างกลางของดินแดนใหญ่ 2 บริเวณ คืออินเดียทางตะวันตก และจีนทางตะวันออก • บ้านใกล้เคียง คือ พม่า ลาว กัมพูชา มาเลเซีย และเพื่อนบ้านในเขตภูมิภาคคือ เวียดนาม สิงคโปร์ อินโดนีเซีย บรูไน และฟิลิปปินส์

  15. การปกครองของไทย • จุดเริ่มต้นของการ ปกครอง ในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข • มีศูนย์อำนาจการปกครองอยู่ที่ 3 สถาบันสำคัญคือ 1.สถาบันนิติบัญญัติ มีรัฐสภาเป็นผู้ใช้อำนาจในการออกกฎหมาย 2.สถาบันบริหาร มีคณะรัฐมนตรีเป็นผู้ใช้อำนาจบริหาร และ 3.สถาบันตุลาการ มีศาลสถิตยุติธรรมเป็นผู้ใช้อำนาจหน้าที่พิพากษาอรรถคดีในพระปรมาภิไธย

  16. ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นที่ควรศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่นที่ควรศึกษา

More Related