1 / 11

การวัดทางระบาดวิทยา

การวัดทางระบาดวิทยา. น.ส.วิภาวี ธรรมจำรัส. การวัดทางระบาดวิทยา. การวัดขนาดของโรค การวัดความสัมพันธ์ระหว่าง “ปัจจัยที่ศึกษา” และ “โรค” การวัดผลกระทบของปัจจัยที่ศึกษาต่อการเกิดโรค. การวัดขนาดของโรค. การวัดความชุกของโรค (Prevalence)

melody
Télécharger la présentation

การวัดทางระบาดวิทยา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวัดทางระบาดวิทยา น.ส.วิภาวี ธรรมจำรัส

  2. การวัดทางระบาดวิทยา • การวัดขนาดของโรค • การวัดความสัมพันธ์ระหว่าง “ปัจจัยที่ศึกษา” และ “โรค” • การวัดผลกระทบของปัจจัยที่ศึกษาต่อการเกิดโรค

  3. การวัดขนาดของโรค • การวัดความชุกของโรค (Prevalence) = ผู้ป่วยเก่า + ผู้ป่วยใหม่ / จำนวนประชากรทั้งหมด • การวัดอุบัติการณ์ของโรค (Incidence) การวัดขนาดการเกิดขึ้นใหม่ของโรค มี 2 ลักษณะ 1. การวัดความเสี่ยง 2. การวัดอัตรา

  4. การวัดความเสี่ยง (Risk) หมายถึง ความเสี่ยงต่อการเกิดโรค ซึ่งจะบอกให้ทราบว่าผู้ที่ ไม่มีโรค จะมีโอกาสในการเกิดโรคมากน้อยเท่าใด จำนวนคนที่เป็นโรค ÷ จำนวนคนทั้งหมด ในเวลา ....... ปี เช่น มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก จำนวน 4 รายจากจำนวนประชากร 6 คน ในระยะเวลา 8 ปี จะมีโอกาสในการเกิดโรค เท่าไหร่ = 4 ÷ 6 x 100 ในเวลา 8 ปี = 66.67 ราย ในเวลา 8 ปี ถ้าในระยะเวลา 1 ปี = 66.67 ÷ 8 = 8.33 ราย

  5. การวัดอัตรา (Rate) หมายถึง เป็นการวัดว่าการเกิดโรคในกลุ่มคนที่ยังไม่ได้ เป็นโรคเกิดขึ้นช้าเร็วเพียงใด โดยใช้ระยะเวลาเสี่ยงต่อการเกิดโรค ของทุกๆคนที่ศึกษามาเป็นมาตรฐานของการคำนวณ RT = D ÷PT D = (การเกิดโรคขึ้นใหม่) PT =(ระยะเวลาของแต่ละคนที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค) เช่น ผู้ที่เป็นโรคไข้เลือดออกรายใหม่ 4 รายจากประชากร 6 คน(ระยะเวลาที่เสี่ยงต่อการเกิดโรค= 32) = 4 ÷32 = 12.5 ราย ÷100 หรือ 12.5% ต่อปี

  6. การวัดความสัมพันธ์ระหว่าง “ปัจจัยที่ศึกษา” และ โรค” 1. วัดในลักษณะของ Ratio Scale - Cumulative incidence ratio หรือ Risk ratio - Incidence density ratio หรือ Rate ratio - Odds ratio - Prevalence ratio - Standardised mortality ratio - Proportional mortality ratio

  7. การวัดความสัมพันธ์ระหว่าง “ปัจจัยที่ศึกษา” และ โรค” (ต่อ) 2. วัดในลักษณะ Difference Scale - Cumulative incidence difference หรือ Risk difference - Incidence density difference หรือ Rate difference 3. วัดในลักษณะอื่นๆ - Correlation coefficient - Regression coefficient

  8. การวัดผลกระทบของปัจจัยที่ศึกษาต่อการเกิดโรค • การวัดผลเฉพาะในกลุ่มผู้ที่มีปัจจัยนั้น เช่น การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี่และการเกิดโรค ทางเดินหายใจ เป็นโรค ไม่เป็นโรค สูบบุหรี่100 ไม่สูบบุหรี่ 100 50 350

  9. การคำนวณ Attributable fraction among the exposed (AFe) AFe = = = 0.75 หรือ 75 % ถ้า Ie = Incidence ในผู้ที่มีปัจจัย = 40÷100 =40% Iu = Incidence ในผู้ที่ไม่มีปัจจัย = 10÷100 = 10% หรือ ในกรณีที่ไม่มีข้อมูล Incidence สามารถใช้ Relative risk มาใช้ในการ คำนวณได้ AFe = = = 0.75 หรือ 75%

  10. การวัดผลกระทบของปัจจัยที่ศึกษาต่อการเกิดโรค • การวัดผลในประชากรทั้งหมด เช่น การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี่และการเกิดโรค ทางเดินหายใจ เป็นโรค ไม่เป็นโรค สูบบุหรี่100 ไม่สูบบุหรี่ 100 50 350

  11. การคำนวณ Attributable fraction in the whole population (AFp) AFe = = = 0.60 หรือ 60 % ถ้า Ip = Incidence ใน Population = 50÷200 =0.25 =25% หรือ ในกรณีที่ไม่มีข้อมูล Incidence สามารถใช้ Relative risk และความชุกของการมีปัจจัยในชุมชนมาใช้ในการคำนวณ คือ AFp = Pe x (RR-1) = 0.50 x (4.00-1) = 60% Pe x (RR-1)+1 0.50 x (4.00-1)+1

More Related