1 / 44

การจัดการสารสนเทศสำหรับผู้นำองค์กรและผู้บริหาร

… บทที่ 2… หลักการและแนวคิดในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารและการจัดการ. การจัดการสารสนเทศสำหรับผู้นำองค์กรและผู้บริหาร. 2552007 Management Information Systems for Administration. ผู้บริหาร. CEO ( Chief Executive Officer) คือ ผู้บริหารสูงสุดขององค์กร.

melva
Télécharger la présentation

การจัดการสารสนเทศสำหรับผู้นำองค์กรและผู้บริหาร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. … บทที่ 2… หลักการและแนวคิดในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารและการจัดการ การจัดการสารสนเทศสำหรับผู้นำองค์กรและผู้บริหาร 2552007 Management Information Systems for Administration

  2. ผู้บริหาร CEO(Chief Executive Officer) คือ ผู้บริหารสูงสุดขององค์กร CIO(Chief Information Officer) คือ ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง CFO (Chief Financial Officer) คือ เป็นผู้บริหารสูงสุดทางด้านการเงินของบริษัท COO (Chief Operation Officer) คือ ผู้บริหารหรือกรรมการอำนวยการฝ่ายปฏิบัติการ

  3. การแบ่งงาน ของผู้บริหาร ผู้ติดต่อ ผู้บริหารการเมือง ผู้ประกอบการ คนใน (ทรัพยากร) ผู้บริหารทันเวลา ผู้บริหารทีม ผู้เชี่ยวชาญ ผู้บริหารใหม่

  4. หน้าที่และบทบาทของผู้บริหารหน้าที่และบทบาทของผู้บริหาร “ผู้บริหารมักทำสิ่งต่าง ๆ ให้ลุล่วงได้โดยอาศัยผู้อื่น” การจัดการเป็นองค์ความรู้ เป็นความ สามารถและทักษะที่สามารถเรียนรู้กันได้

  5. ข้อพึงมีสำหรับความสำเร็จในการบริหารจัดการข้อพึงมีสำหรับความสำเร็จในการบริหารจัดการ • ทักษะและประสบการณ์ ทักษะด้านการสื่อสาร สร้างแรงจูงใจ • บุคลิกภาพการจัดการ มีความรู้ พลังใจ สร้างสรรค์ • การศึกษาและความรู้ด้านการจัดการ • องค์กร งบประมาณ สารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ เศรษฐกิจและกิจการปัจจุบัน กฎหมาย การวางแผน การวัดผลงาน การดำเนินการ

  6. ประเภทของงานและกิจกรรมการจัดการประเภทของงานและกิจกรรมการจัดการ • จัดการความเปลี่ยนแปลง • ประนีประนอม • การตัดสินใจ • การวางแผน • ความมีวินัยและความทุกข์ • การแบ่งปันทรัพยากรและงบประมาณ • การจัดการผู้ปฏิบัติงานให้เป็นทีม • การพัฒนาคน • การสร้างและรักษามาตรฐาน • กำหนดระดับผลงานและติดตามผล • ให้วิสัยทัศน์ • ป้องกันและหยุดความขัดแย้ง • นำคนที่เกี่ยวข้องในองค์กร • กระตุ้นผู้อื่น • การจัดการกับสภาวะวิกฤต

  7. สารสนเทศเพื่อการบริหารสารสนเทศเพื่อการบริหาร องค์การ เทคโนโลยี • คน • โครงสร้าง • หน้าที่ • ระบบการทำงาน • วัฒนธรรม • การเมือง • สิ่งแวดล้อม • ฮาร์ดแวร์ • ซอร์ฟแวร์ • ฐานข้อมูล • การสื่อสาร • โทรคมนาคม MIS การจัดการ • บทบาทของผู้บริหาร • ระบบการตัดสินใจ • การวางนโยบาย/ แผน • การนำไปปฏิบัติ

  8. ความสัมพันธ์ระหว่างระบบสารสนเทศกับองค์กรและการจัดการความสัมพันธ์ระหว่างระบบสารสนเทศกับองค์กรและการจัดการ ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ เป็นเรื่องการออกแบบและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศให้เกิดประโยชน์ประมีประสิทธิผล โดยจะต้องเข้าใจถึงสิ่งแวดล้อม โครงสร้างหน้าที่การทำงาน วัฒนธรรม การเมือง ภายในองค์การ ตลอดจนบทบาทของผู้บริหารและระบบการตัดสินใจ

  9. ความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรและระบบสารสนเทศความสัมพันธ์ระหว่างองค์กรและระบบสารสนเทศ ฮาร์ดแวร์ กลยุทธ์ กฎข้อบังคับ ขั้นตอน ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล โทรคมนาคม

  10. องค์ประกอบสำคัญภายในองค์กรที่มีผลต่อการพัฒนาระบบสารสนเทศกลยุทธ์ กฎเกณฑ์ ขั้นตอน • ระบบสารสนเทศที่ดีควรประกอบด้วยซอฟต์แวร์ฮาร์ดแวร์ฐานข้อมูลโทรคมนาคม

  11. องค์ประกอบพื้นฐานในการนำระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการการมาใช้ในองค์กรองค์ประกอบพื้นฐานในการนำระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการการมาใช้ในองค์กร การศึกษาเรื่องระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ จำเป็นต้องอาศัย ความรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ ดังนั้นระบบสารสนเทศจึงมีลักษณะเป็น สหวิทยาการ (multidisciplinary) ดังนั้น จึงแบ่งการศึกษาระบบ สารสนเทศออกเป็น 2 แนวทางคือ • แนวทางด้านเทคนิค (Technical Approach) • แนวทางด้านพฤติกรรม (Behavioral Approach)

  12. องค์ประกอบพื้นฐานในการนำระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการการมาใช้ในองค์กรองค์ประกอบพื้นฐานในการนำระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการการมาใช้ในองค์กร แนวทางด้านเทคนิค Technical Approach คอมพิวเตอร์ Computer science วิจัยเชิงปฏิบัติการ Operation Research MIS วิทยาการการจัดการ Management Science องค์การ Organization จิตวิทยา Psychology สังคมวิทยา Sociology แนวทางด้านพฤติกรรม Behavioral Approach

  13. แนวทางด้านเทคนิค เน้นเรื่องเทคโนโลยีด้านกายภาพ และความสามารถในด้านเทคนิคของระบบ ความรู้ที่ใช้ในแนวทางนี้ได้แก่ • วิทยาการจัดการ »เน้นเรื่องการพัฒนาโมเดลในการตัดสินใจและการจัดการ • Computer Science »สนใจการสร้างทฤษฎีและวิธีการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิธีเก็บรวบรวมและการเข้าถึงข้อมูล • การวิจัยเชิงปฏิบัติการ » เน้นเทคนิคทางคณิตศาสตร์ เพื่อหาทางเลือกที่ดีที่สุด ในการบริหาร การทำงาน

  14. แนวทางด้านพฤติกรรม เน้นที่การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ พฤติกรรมการบริหาร รวมทั้งนโยบายองค์กร ความรู้ที่ใช้ในแนวทางนี้ได้แก่ • วิชาองค์กรและการจัดการ » ช่วยในการพิจารณาว่ากลุ่มหรือองค์กรจะพัฒนาระบบอย่างไร และระบบนั้นจะมีผลต่อบุคคลอย่างไร • วิชาจิตวิทยา » ช่วยศึกษาพฤติกรรมของคนเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงด้านเทคโนโลยีในองค์การ • สังคมวิทยา » เป็นเรื่องผลกระทบของระบบสารสนเทศที่มีต่อกลุ่ม องค์การ และสังคม

  15. เทคโนโลยีสารสนเทศ “ในปัจจุบันข้อมูลข่าวสารเป็นเสมือนองค์ประกอบพื้นฐานที่สาม นอกจากสสารและพลังงาน” โลกโลกาภิวัตน์ ไร้พรมแดน ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ดังนั้น เทคโนโลยีสารสนเทศจึงประกอบด้วย ระบบจัดเก็บและการประมวลผลข้อมูล ระบบสื่อสารโทรคมนาคม อุปกรณ์สนับสนุนการปฏิบัติงานด้านสารสนเทศ

  16. ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ คือ กลุ่มของระบบงานที่ประกอบด้วย ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ทำหน้าที่จัดเก็บ ประมวลผล และแจกจ่ายสารสนเทศ เพื่อการตัดสินใจและช่วยประสานงาน ระบบสารสนเทศ คือ ชุดของคน ข้อมูลหรือวิธีการ ที่รวมกันเพื่อทำให้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้ในการจัดการสารสนเทศ เพื่อนำมาใช้ในการตัดสินใจ แก้ปัญหา ควบคุมคน

  17. ระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ สร้างขึ้นเพื่อ ประมวลผลข้อมูล สารสนเทศ ความรู้ เพื่อแก้ปัญหา • ระบบสารสนเทศ แบ่งตามการให้การสนับสนุนเป็น 2 ประเภท คือ • ระบบสนับสนุนการปฏิบัติงาน TPS • ระบบสนับสนุนการบริหาร เช่น • ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ MIS • ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ DSS • ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูง

  18. ระดับการบริหารและสารสนเทศที่จำเป็นระดับการบริหารและสารสนเทศที่จำเป็น EIS DSS ผู้บริหาร ระดับวางแผน กลยุทธ์ (CEO) MIS/GIS ผู้บริหารระดับวางแผน การบริหารกลยุทธ์ TPS ผู้บริหารระดับวางแผนปฏิบัติการบริหาร

  19. ประเภทของระบบสารสนเทศประเภทของระบบสารสนเทศ ระบบ สารสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูง (EIS) ระบบผู้เชี่ยวชาญ (ES) ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ (DSS) ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ / ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ MIS / GIS ระบบการประมวลด้วยรายการเปลี่ยนแปลง / ระบบสำนักงานอัตโนมัติ TPS / OAS

  20. ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาแก่ผู้ใช้ ในการให้คำแนะนำที่ต้องอาศัยความเชี่ยวชาญในบางสาขา มีลักษณะเป็นโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่เก็บรวบรวมความรู้ของผู้เชี่ยวชาญเอาไว้(Knowledge based) โปรแกรมจะพยายามหาคำตอบจากสิ่งที่ผู้ใช้ได้ป้อนเข้าไป หรือให้คำแนะนำที่ได้จากกฏที่กำหนดไว้ ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ES 20

  21. ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ES • กระจายความรู้ โดยเฉพาะสาขาที่ต้องอาศัยบุคลากรที่มีความชำนาญ เช่น แพทย์ นักการเงิน นักธรณีวิทยา • ความแน่นอน เป็นการสร้างความแน่นอนและความเที่ยงตรงให้เกิดขึ้น เช่น การวิเคราะห์หลักทรัพย์ หรือการวิเคราะห์แหล่งแร่ เป็นต้น • เตรียมการสำหรับอนาคต ลดความเสี่ยงและป้องกันการขาดแคลนความรู้และประสบการณ์ในการตัดสินใจเมื่อเกิดความต้องการขึ้น

  22. ตัวอย่าง ระบบผู้เชี่ยวชาญ (Expert System) ES • ด้านการแพทย์ • ด้านการผลิต • ด้านธรณีวิทยา • ด้านกระบวนการผลิต • ด้านกระบวนการทำงานของบริษัทบัตรเครดิต • ด้านกฎหมายระหว่างประเทศ • ด้านการค้าระหว่างประเทศ

  23. Executive Information Systems – EISระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารระดับสูง EIS ดาต้าแวร์เฮาส์ • วิเคราะห์/ตัดสินใจ • เจาะลึกข้อมูล • ซอฟต์แวร์สำเร็จรูป • ใช้DSS และ AI • สารสนเทศจากภายใน • สารสนเทศจากภายนอก สามารถเข้าถึงสารสนเทศ ได้ทุกประเภท สนับสนุนการทำรายงาน ในลักษณะยืดหยุ่นและ เป็นเครื่องมือวิเคราะห์สารสนเทศ ช่วยผู้บริหารระบุปัญหา และสร้างโอกาส 23

  24. ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ลักษณะของ DSS ใช้สำหรับประกอบการตัดสินใจที่เกี่ยวข้องกับสถานการณ์ที่มีลักษณะเป็นแบบไม่มีโครงสร้าง(unstructured situations) โดยจะมีการนำวิจารณญาณของมนุษย์กับข้อมูลจากคอมพิวเตอร์มาใช้ประกอบในการตัดสินใจ ระบบ DSS ช่วยในการตอบสนองความต้องการที่ไม่ได้คาดการณ์มาก่อน Decision Support Systems-DSS 24

  25. ลักษณะของ DSS 3. ช่วยในการตัดสินในที่ต้องความรวดเร็วสูง จัดการเก็บข้อมูลซึ่งมาจากหายแหล่งได้ ทั้งภายในและ ภายนอกหน่วยงาน นำเสนอได้ทั้งรายงานที่เป็นข้อความและกราฟิก ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ Decision Support Systems-DSS 25

  26. ระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ระบบปฏิบัติการทางธุรกิจ Transaction processing system ระบบจัดทำรายงานสำหรับการจัดการ Management reporting system ระบบย่อยของMIS ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ Decision supporting system ระบบสารสนเทศสำนักงาน Office information system

  27. ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ GIS GIS ย่อมาจากคำว่า Geographic Information System การนำเอาระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในการรวบรวมข้อมูล ซึ่งกระจายอยู่ในรูปต่าง ๆ เช่น แผนที่ สถิติ - ตาราง และคำบรรยายมาจัดเก็บเพื่อสะดวกในการแสดงผลและเรียกค้นข้อมูลได้รวดเร็วถูกต้องง่ายต่อการประมวลผล ตลอดจนการวิเคราะห์เพื่อที่จะนำไปใช้ในการวางแผนหรือแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ตามวัตถุประสงค์ของผู้ใช้ต่อไป ที่มาhttp://www.gis.deqp.go.th/eqpdimsthai/html/IntroductiontoGIS.html

  28. องค์ประกอบระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์องค์ประกอบระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ Software Hardware Data GIS People Process ที่มาhttp://www.gis.deqp.go.th/eqpdimsthai/html/IntroductiontoGIS.html

  29. เรานำ GIS ไปใช้ทำอะไรบ้าง • Locationเป็นการสอบถามข้อมูลจากแผนที่ เช่น อยากรู้ว่าใครเป็นเจ้าของบ้านหลังนี้ เป็นต้น หรือค้นหาตำแหน่งที่ต้องการ เช่น อยากรู้ว่าบ้านนายสมชายอยู่ที่ไหน เป็นต้น • Condition เป็นการค้นหาข้อมูลในระดับที่สูงขึ้นมาโดยการให้เงื่อนไขในการค้นหาข้อมูล เช่น หาว่าแปลงที่ดินแปลงใดบ้างในจังหวัดนนทบุรีที่มีพื้นที่มากกว่า 20 ไร่ เป็นต้น • Trendsเป็นการวิเคราะห์รูปแบบการเปลี่ยนแปลงทางพื้นที่ ณ เวลาต่างๆ เช่น เปรียบเทียบการขยายตัวของเขตเมืองระหว่างปี 2520 ถึง 2540 เป็นต้น • Patterns เป็นการวิเคราะห์เพื่อดูรูปแบบทางพื้นที่ของเหตุการณ์ที่สนใจ เช่น รูปแบบการกระจายของโรคพืช เป็นต้น • Modelingเป็นการวิเคราะห์เพื่อให้ได้คำตอบว่า "จะเกิดอะไร ถ้า...." เช่น การหาพื้นที่ที่เหมาะสมในการ...... โดยกำหนดตาม criteria นั้นๆ เป็นต้น

  30. ระบบสารสนเทศที่เน้นกระบวนการบันทึก ประมวลผลข้อมูลที่เกิดจากธุรกรรมหรือการปฏิบัติงานประจำหรืองานขั้นพื้นฐานขององค์กร เช่น การซื้อขายสินค้า การบันทึกจำนวนวัสดุคงคลัง จะต้องมีการบันทึกข้อมูลทันทีทุกครั้งที่มีการขายสินค้า ซึ่งจะเกี่ยวข้องกับข้อมูลลูกค้า จำนวนของสินค้าที่ขายไป และการชำระเงิน ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ TPS Transaction Processing Systems-TPS 30

  31. ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ TPS หน้าที่ • การจัดกลุ่มของข้อมูล(Classification) • การคิดคำนวณ(Calculation) • การเรียงลำดับข้อมูล(Sorting) • การสรุปข้อมูล(Summarizing) • การเก็บ(Storage)

  32. ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ TPS กระบวนการของ TPSมี 3 วิธี • Batch Processing • Online Processing • Hybrid System

  33. Batch Processing ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ TPS • การประมวลผลเป็นชุดโดยการรวบรวมข้อมูลที่เกิดจากธุรกรรมที่เกิดขึ้นและรวบรวมไว้เป็นชุด เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง หรือจัดลำดับให้เรียบร้อยก่อนที่จะส่งไปประมวลผล โดยการประมวลผลนี้จะทำเป็นระยะๆ

  34. Batch Processing ข้อมูลของ ธุรกรรมที่ จัดชุดไว้ ป้อนข้อมูลเข้า แฟ้มข้อมูล ของธุรกรรม (Transaction file) ที่จัดเรียงแล้ว แฟ้มข้อมูลหลักเดิม Old Master File ตรวจสอบความถูกต้อง & ปรับปรุงให้ทันสมัย รายงานที่มี ความผิดพลาด รายงาน แฟ้มข้อมูลหลักใหม่ New Master File ปรับจาก Laudon & Laudon.(1996:215).

  35. Online Processing • ข้อมูลจะได้รับการประมวลผลและทำให้เป็นเอาท์พุททันทีที่มีการป้อนข้อมูลของธุรกรรมที่เกิดขึ้น เช่น การเบิกเงินจากตู้ ATM ธุรกรรม ประมวล/ปรับปรุง ข้อมูลให้ทันสมัย ในแฟ้มข้อมูลหลัก ป้อนข้อมูลผ่านคีย์บอร์ด แฟ้มข้อมูลหลัก ป้อนข้อมูลทันที Immediate Input ประมวลผลทันที Immediate Processing ปรับปรุงแฟ้มข้อมูลทันที Immediate File Update

  36. Hybrid Systems ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ TPS • เป็นวิธีการผสมผสานแบบที่ 1) และ 2) โดยอาจมีการรวบรวมข้อมูลที่เกิดขึ้นทันที แต่การประมวลผลจะทำในช่วงระยะเวลาที่กำหนด เช่น แคชเชียร์ที่ป้อนข้อมูลการซื้อขายจากลูกค้าเข้าคอมพิวเตอร์ ณ จุดขายของ

  37. ระบบสารสนเทศแบบประมวลผลรายการ TPS Example • บริษัท Avon นำเทคนิคการป้อนข้อมูลแบบสแกนบาร์โค้ดสินค้าเพื่อลดความผิดพลาดของการคีย์ข้อมูลใบสั่งสินค้า ซึ่งทำให้มีความแม่นยำมากขึ้น 76% ผลผลิตเพิ่มขึ้น 75% เวลาของการสั่งซื้อสินค้าลดลง 67% ลดต้นทุนลง 65%(Haag et al.,2000)\

  38. ระบบสารสนเทศสำหรับสำนักงานระบบสารสนเทศสำหรับสำนักงาน ระบบจัดการเอกสาร ระบบควบคุมและส่งผ่านข่าวสาร ระบบสารสนเทศ สำหรับสำนักงาน ระบบประชุมทางไกล ระบบสนับสนุนการดำเนินงาน ในสำนักงาน

  39. ระบบสารสนเทศสำหรับสำนักงาน (ต่อ) การประมวลคำ ระบบจัดการเอกสาร การผลิตเอกสารหลายชุด การออกแบบเอกสาร การประมวลรูปภาพ การเก็บรักษา รูป ระบบจัดการเอกสาร ระบบควบคุมและส่งผ่านข่าวสาร โทรสาร ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ไปรษณีย์เสียง รูป ระบบควบคุมและส่งผ่านข่าวสาร

  40. ระบบสารสนเทศสำหรับสำนักงาน (ต่อ) การประชุมทางไกลที่ใช้ทั้งเสียงและภาพ ระบบประชุมทางไกล การประชุมทางไกลใช้เฉพาะเสียง การประชุมโดยใช้คอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ภายใน การปฏิบัติงานผ่านระบบสื่อสารทางไกล รูป ระบบประชุมทางไกล ระบบสนับสนุนการดำเนินงานในสำนักงาน ชุดคำสั่งสำหรับกลุ่ม ระบบจัดระเบียบงาน คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ การนำเสนอประกอบภาพ กระดานข่าวสารใน สำนักงาน รูป ระบบสนับสนุนการดำเนินงานในสำนักงาน

  41. ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร (EIS) ระบบสารสนเทศการตัดสินใจ(DSS) ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ(MIS) ระบบการประมวลผลธุรกรรม(TPS) ระบบสารสนเทศสำนักงาน(OIS) ความสัมพันธ์ของระบบสารสนเทศแบบต่าง ๆ

  42. ระบบแยกย่อยตามหน้าที่ภายในองค์กรระบบแยกย่อยตามหน้าที่ภายในองค์กร การวางแผน กลยุทธ์ การควบคุม ด้านการจัดการ การปฏิบัติงาน การควบคุมด้านการปฏิบัติงาน นโยบายแผนงาน ระบบย่อยที่แยกตามหน้าที่ภายในองค์กร Major Functional Subsystem บุคลากร การประมวลผลด้วยรายการเปลี่ยนแปลง การบัญชี งบประมาณการเงินการคลัง ระบบย่อยที่แยกตามกิจกรรม Activity Subsystem

  43. Joke คลายเครียด บนรถทัวร์ "หยุดนี่คือการปล้น"โจรออกคำสัง "ผู้ชายเอาไปฆ่าให้หมด ส่วนผู้หญิงให้เอาไปข่มขืน" เหตุการณ์ดำเนินไปเรีอยๆจนกระถึงหญิงแก่คนหนึ่ง "ขอเถอะเว้นคนแก่ไปเถอกนะ"หญิงสาวคนหนึ่งอ้อนวอนโจร  "มึงไม่ต้องเสือก..ให้โจรมันตัดสินใจเอง"หญิงแก่พูดแทรกขึ้นมา  พอโจรมาถึงหญิงแก่จึงตัดสินใจพาพรรคพวกกลับ  "ถุย!..ไอ้โจรไม่มีสัจจะ" หญิงแก่สบถด้วยความไม่พอใจ

  44. งาน • GIS • DSS • TPS • OAS • EIS • MIS • ES

More Related