1 / 89

ร้อยละของคนที่ติดโรคซาร์สในรพ.

หน้ากากอนามัยและล้างมือกับการป้องกันโรคติดต่อทางเดินหายใจ นพ.มนูญ ลีเชวงวงศ์ โครงการรณรงค์ลดการแพร่เชื้อทางเดินหายใจ ด้วยการใส่หน้ากากอนามัยและล้างมือ ทุนวิจัยวัณโรคดื้อยา ศิริราชมูลนิธิ ในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์.

Télécharger la présentation

ร้อยละของคนที่ติดโรคซาร์สในรพ.

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. หน้ากากอนามัยและล้างมือกับการป้องกันโรคติดต่อทางเดินหายใจนพ.มนูญ ลีเชวงวงศ์โครงการรณรงค์ลดการแพร่เชื้อทางเดินหายใจด้วยการใส่หน้ากากอนามัยและล้างมือ ทุนวิจัยวัณโรคดื้อยา ศิริราชมูลนิธิในพระอุปถัมภ์ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนากรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์

  2. ร้อยละของคนที่ติดโรคซาร์สในรพ.ร้อยละของคนที่ติดโรคซาร์สในรพ.

  3. จำนวนผู้ป่วยโรคซาร์ส และ % ที่เป็นบุคลากรการแพทย์ของประเทศต่างๆ 100 80 % บุคลากรการแพทย์ 60 จำนวนผู้ป่วยโรคซาร์ส 40 20 0

  4. ความจริงไม่ใช่เรื่องใหม่ความจริงไม่ใช่เรื่องใหม่ • มีการแพร่กระจายของเชื้อไวรัสที่ติดต่อทางหายใจในรพ.มานานแล้ว • Respiratory syncytial virus • Influenza (IDSA 2004, poster 205) • Rhinoviruses • มีรายงานการเจ็บป่วย และเสียชีวิตในการระบาดของเชื้อโรคเหล่านี้ด้วย • (Emerg Infect Dis 2001;7:249-53)

  5. ไม่ใช่มีแต่ไวรัส เชื้อแบคทีเรียก็มีการระบาดด้วย • มีรายงานการแพร่กระจายในรพ.ของเชื้อ • B. pertussis • M.pneumoniae • M.tuberculosis • Am J Med 1996;101:165-9 • Infect Control Hosp Epidemiol 1999;20:758-60

  6. ทำไมต้องเตรียมพร้อม? โรคซาร์สชี้ให้เห็นชัดถึงภัยอันตรายของโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ ต่อบุคลากรการแพทย์ ผู้ป่วยรวมทั้งคนมาเยี่ยมและคนไข้ หากเกิดการแพร่กระจายเชื้อโรคในโรงพยาบาล

  7. ความยากลำบากในการควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อโรคทางเดินหายใจความยากลำบากในการควบคุมการแพร่กระจายของเชื้อโรคทางเดินหายใจ การแพร่กระจายสามารถเกิดขึ้นโดยละอองเสมหะหรือละอองฝอย การรับเชื้อ ค่อนข้างง่ายเพียงอยู่ใกล้กับคนป่วย อาการไม่เฉพาะเจาะจง การวินิจฉัยมักจะทำได้ช้า

  8. แนวทางการควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ โรคทางเดินหายใจไม่ใช่เรื่องใหม่ • มาตรการต่าง ๆ มีผู้เสนอแนะมาแล้ว • ควบคุมที่คนป่วย • การแยกผู้ป่วย • การล้างมือ • การใส่หน้ากากอนามัย

  9. มาตรการแรก เริ่มที่ผู้ป่วย ยืมแนวทางป้องกันการแพร่กระจายของเชื้อวัณโรคซึ่งเน้นถึงการปิดปากปิดจมูกเวลาไอ จาม เป็นมาตรการที่สำคัญ

  10. สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร์อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก พระบิดาแห่งการแพทย์และสาธารณสุขไทย ได้ทรงนิพนธ์บทความเกี่ยวกับวัณโรคในปี พ.ศ.2463 พระราชทานให้แก่กรมสาธารณสุข เพื่อแจกจ่ายให้แก่ประชาชน ให้รู้วิธีป้องกัน

  11. พระองค์ทรงเน้นที่ผู้ป่วยพระองค์ทรงเน้นที่ผู้ป่วย มีหน้าที่ป้องกันไม่ให้แพร่เชื้อไปติดคนอื่น เวลาไอ จาม ปิดปากด้วยผ้า มือเปื้อนต้องล้างมือ วิธีการนี้ยังคงทันสมัย และสามารถใช้ปฏิบัติ กับโรคติดเชื้อทางเดินหายใจทุกชนิดในปัจจุบัน

  12. การแยกผู้ป่วยออกจากผู้อื่นการแยกผู้ป่วยออกจากผู้อื่น การที่อยู่ใกล้ชิดกับผู้ป่วย ใกล้กว่า 1 เมตร จะเสี่ยงต่อการรับเชื้อโรคทางละอองเสมหะ New Engl J Med 1982;307:1255-7 Am J Med 1948;4:690 ยิ่งอยู่ห่างผู้ป่วยโอกาสรับเชื้อจะน้อยลง

  13. การลดการฟุ้งกระจายของละอองเสมหะการลดการฟุ้งกระจายของละอองเสมหะ การลดการฟุ้งกระจายของละอองเสมหะเป็นองค์ประกอบที่สำคัญในการควบคุมการแพร่กระจายของโรคติดต่อทางเดินหายใจ Flu: Infect Control Hosp Epidemiol. 2000 Nov;21(11):730-2. Pertussis: Infect Control Hosp Epidemiol 1995;16:556-63. RSV: J Pediatr 1981;99:746. SARS: Respirology 2003 Nov;8 Suppl:S41-5

  14. การล้างมือ การล้างมือสามารถลดการแพร่กระจายเชื้อโรคทั้งในและนอกรพ. Am J Prev Med 2001;21:79-83 Pediatrics 2000;104:738-42 Am J Infect Control 2003;31: 364-70

  15. 0 1 2 3 4 5 6 ล้างมือด้วย: น้ำกับสบู่ แอลกอฮอล์เจล มือเปื้อนแบคทีเรีย จำนวนเชื้อแบคทีเรีย (log) ที่ลดลง 0 15 30 1 นาที 2 นาที 3 นาที 4 นาที เวลา วินาที วินาที เปรียบเทียบประสิทธิภาพและความรวดเร็วของน้ำกับสบู่ และแอลกอฮอลล์เจล ในการกำจัดเชื้อแบคทีเรียที่ปนเปื้อนบนมือ

  16. แอลกอฮอล์เจล ประกอบด้วย แอลกอฮอล์ 70% ดีกว่าล้างด้วยน้ำกับสบู่ มีประสิทธิภาพฆ่าเชื้อไวรัสและแบคทีเรียได้เกือบ 1000 เท่า น้ำกับสบู่ฆ่าได้ประมาณ 100 เท่า ใช้เวลาน้อยเพียง 15 วินาที ถ้าล้างด้วยน้ำกับสบู่ต้องล้าง อย่างน้อย 1 นาที ถึงจะฆ่าได้ 100 เท่า ไม่ต้องใช้น้ำและกระดาษทิชชู หรือผ้าเช็ดมือ * แต่ถ้ามือเปื้อนสิ่งสกปรก เช่น คราบอาหาร ดินทราย ล้างไม่ออกด้วยแอลกอฮอล์เจล ต้องใช้น้ำกับสบู่เท่านั้น

  17. แหล่ง/อุปกรณ์เครื่องใช้สาธารณะที่พบเชื้อโรคแบคทีเรียมากที่สุดแหล่ง/อุปกรณ์เครื่องใช้สาธารณะที่พบเชื้อโรคแบคทีเรียมากที่สุด เรียงตามลำดับจากมากไปน้อย 1. ที่จับรถเข็นในซูเปอร์มาร์เกต 2. เม้าส์ในอินเทอร์เน็ตคาเฟ่ 3. ราวรถเมล์ 4. ลูกบิดประตูห้องน้ำ 5. ปุ่มลิฟต์ 6. ราวบันไดเลื่อน

  18. คุ้นไหม? ผู้ป่วยด้วยโรคติดเชื้อทางเดินหายใจถูกบังคับให้ใส่หน้ากากอนามัย เมื่อเข้าสถานพยาบาล ให้ผู้ป่วย เข้าตรวจได้เร็วไม่ต้องรอนาน”

  19. เกิดขึ้นในช่วงที่โรคซาร์สระบาดหรือไม่?เกิดขึ้นในช่วงที่โรคซาร์สระบาดหรือไม่? ไม่ใช่เป็นการควบคุมการระบาดของโรคไอกรน ในเมือง Cincinnati ในปี 1993 (Infect Control Hosp Epidemiol1995;16:556-563) วิธีการนี้ช่วยลดการระบาดของโรคไอกรน ในรพ.

  20. แล้วโรคนี้ล่ะ? ป้ายแขวนที่ห้องฉุกเฉิน เจ้าหน้าที่ ถูกสอนให้ทราบถึงอาการ และถ้ามีอาการบ่งถึงโรคติดเชื้อทางเดินหายใจให้แยกผู้ป่วยทันที

  21. ก็ไม่ใช่โรคซาร์สอีก! สามารถลดการแพร่กระจายเชื้อ Respiratory Syncytial Virus (Amer J Infect Control 1999;27:91-6) การใช้มาตรการนี้สามารถลดการแพร่เชื้อ RSV ในรพ.มากกว่า 50% (P = 0.002)

  22. เกิดอะไรขึ้นในช่วงที่มีการระบาดของโรคซาร์ส?เกิดอะไรขึ้นในช่วงที่มีการระบาดของโรคซาร์ส? สถานพยาบาลต่าง ๆ แขวนป้ายถามว่า มีอาการโรคติดเชื้อทางเดินหายใจหรือไม่ เตรียมแอลกอฮอล์เจลและหน้ากากอนามัย ให้ผู้ป่วยใช่ในบริเวณรอตรวจ

  23. ระหว่างการระบาดของโรคซาร์สระหว่างการระบาดของโรคซาร์ส • จากการสำรวจสถานพยาบาลต่าง ๆ พบว่า • สถานพยาบาลร้อยละ 93 แพทย์จะสอบถามถึงอาการที่บ่งถึงโรคซาร์ส • สถานพยาบาลร้อยละ 81 แพทย์จะจับผู้ป่วยที่มีอาการไอ จาม ใส่หน้ากากอนามัย • (Clin Infect Dis 2004;39:272-4)

  24. การวินิจฉัยให้เร็วและแยกผู้ป่วย การวินิจฉัยให้เร็วและแยกผู้ป่วย ที่มีอาการของโรคติดเชื้อทางเดินหายใจออกจากผู้อื่น ถือเป็นส่วนหนึ่งของการเตรียมพร้อมและความสำเร็จในการควบคุมโรคซาร์ส

  25. “อย่าทำเพียงเมื่อมีโรคซาร์ส ระบาดเท่านั้น” ถึงแม้โรคซาร์สอาจจะไม่กลับมาอีก แต่เชื่อได้เลย โรคซาร์ส ไม่ใช่โรคสุดท้ายจะยังมีโรคใหม่เกิดขึ้นอีก ทุก ๆ ปี ในทุกรพ.จะมีการแพร่กระจายของเชื้อโรคทางเดินหายใจชนิดต่าง ๆ การวินิจฉัยให้เร็ว และการมีมาตรการควบคุมการแพร่กระจายเชื้อโรคจะสามารถลดการติดเชื้อในรพ

  26. โรคอุบัติใหม่? มีการระบาดของไข้หวัดนก (H5N1) ใน เอเซีย ตะวันออกกลาง ยุโรป แอฟริกา ทั่วโลกวิตกกังวล Pandemic Influenza

  27. โรคไข้หวัดใหญ่ที่เกิดขึ้นกับคนในอดีตถึงปัจจุบันโรคไข้หวัดใหญ่ที่เกิดขึ้นกับคนในอดีตถึงปัจจุบัน Avian Influenza H9 H7 H5 H5 B Russian Influenza H1 Asian Influenza H3 Spanish Influenza H2 Hong Kong Influenza H1 1998/9 1918 1957 1968 1977 1997 2008

  28. คำแนะนำของ CDC CDC ของประเทศสหรัฐอเมริกาแนะนำว่า ควรจะมีมาตรการเดียวที่จะใช้ได้กับโรคติดเชื้อทางเดินหายใจทุกโรคเพื่อรับมือกับโรคที่ระบาดในปัจจุบัน และโรคที่อาจอุบัติใหม่ในอนาคต

  29. การประกาศใช้มาตรการในสถานพยาบาลทุกแห่งการประกาศใช้มาตรการในสถานพยาบาลทุกแห่ง ประกาศให้ผู้ป่วยมีสุขนิสัย / มารยาท ในการไอ จาม เมื่อเข้าในสถานพยาบาล ทุกแห่ง เป็นวิธีการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคในสถานพยาบาล

  30. สุขนิสัย/มารยาทในการไอ จาม 1. สอนเจ้าหน้าที่ของเราถึงความสำคัญ ในการเน้นที่ผู้ป่วยไม่ให้ผู้ป่วย แพร่กระจายเชื้อโรคในรพ.ให้แก่ผู้อื่น

  31. สุขนิสัย/มารยาทในการไอ จาม 2.ติดโปสเตอร์แนะนำให้ผู้ป่วยที่ไอจาม ปฏิบัติดังต่อไปนี้ - ปิดปากและจมูกเวลาไอ จาม ด้วยกระดาษ ทิชชู หรือใส่หน้ากากอนามัย - ล้างมือให้สะอาดเมื่อมือเปื้อนน้ำมูกและ ละอองเสมหะ

  32. สุขนิสัย/มารยาทในการไอ จาม 3. เตรียมกระดาษทิชชูและถังขยะชนิดที่ เวลาทิ้งกระดาษลงโดยไม่ต้องใช้มือ ไปสัมผัสภาชนะ 4. เตรียมแอลกอฮอล์เจล และวิธีใช้ สำหรับล้างมือในบริเวณรอตรวจ

  33. ต้องรวมญาติและคนมาเยี่ยมผู้ป่วยในรพ.ด้วยต้องรวมญาติและคนมาเยี่ยมผู้ป่วยในรพ.ด้วย ในช่วงที่อาการระบาดของโรคซาร์ส ในเมือง Toronto ภรรยาของผู้ป่วยโรคซาร์ส ติดตามผู้ป่วยมาที่ห้องฉุกเฉิน สามีได้รับการดูแลในห้องแยก แต่ภรรยานั่งไอในบริเวณรอตรวจ ผลคือ ภรรยาแพร่เชื้อให้แก่บุคลากรการแพทย์หลายคน

  34. เหตุผลที่ดีในการมีสุขนิสัย/มารยาทในการไอจามเหตุผลที่ดีในการมีสุขนิสัย/มารยาทในการไอจาม ยังมีการระบาดต่อเนื่องของไข้หวัดนกในประเทศต่างๆ มีการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่ ไอกรน วัณโรค

  35. เราทำได้ไหมในประเทศไทยเราทำได้ไหมในประเทศไทย ทำได้แน่นอน สุขนิสัย/มารยาทในการไอจาม ทำในประเทศอื่นแล้ว ตัวอย่าง สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น ฮ่องกง

  36. แรงบันดาลใจ ธ.ค. 2544 ผมได้รักษาผู้ป่วยชาย อายุ 38 ปี จากชลบุรี ป่วยเป็นวัณโรคดื้อยาหลายขนาน (MDR-TB) ไอเป็น เลือดตลอด ผมได้ขอร้องให้ผู้ป่วยใส่หน้ากากอนามัย ปิดปากเวลาไอ เพื่อไม่ให้แพร่เชื้อให้ผู้อื่น แต่ผู้ป่วย ปฏิเสธ บอกว่า “เขาไม่มีวันใส่ ถ้าใส่หน้ากากคนอื่นก็ จะรู้ว่าเขาป่วยเป็นโรคที่สังคมรังเกียจ อีกอย่างหนึ่ง เขาไม่เห็นผู้ป่วยคนอื่นใส่เลย หมอต้องทำให้คนอื่นใส่ ก่อน แล้วเขาจึงจะใส่ตาม”

  37. ม.ค. 45 แม่ยาย อายุ 68 ปี เป็นเบาหวาน ป่วยเป็นวัณโรคดื้อยา ก.ย. 45 แม่ยายเสียชีวิต จากวัณโรคดื้อยา พ.ย. 48 ผู้ชายคนนี้เสียชีวิตจากวัณโรคดื้อยา มิ.ย. 49 ลูกสาว อายุ 16 ปี ป่วยเป็นวัณโรค ดื้อยา กำลังรักษาอยู่

More Related