1 / 30

ความรู้ใกล้ตัว เรื่องวินัย

ความรู้ใกล้ตัว เรื่องวินัย. วินัย คือลักษณะเชิงพฤติกรรมที่แสดงออกมาเป็นการ ควบคุมตนเอง ปฏิบัติตามการนำ อยู่ในระเบียบแบบแผน มีความเป็นระเบียบ. จุดมุ่งหมายและขอบเขตของวินัยข้าราชการ. 1. เพื่อให้ราชการดำเนินไปด้วยดี มีประสิทธิภาพ. 2. เพื่อความเจริญ ความสงบ

Télécharger la présentation

ความรู้ใกล้ตัว เรื่องวินัย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ความรู้ใกล้ตัว เรื่องวินัย

  2. วินัยคือลักษณะเชิงพฤติกรรมที่แสดงออกมาเป็นการวินัยคือลักษณะเชิงพฤติกรรมที่แสดงออกมาเป็นการ • ควบคุมตนเอง • ปฏิบัติตามการนำ • อยู่ในระเบียบแบบแผน • มีความเป็นระเบียบ

  3. จุดมุ่งหมายและขอบเขตของวินัยข้าราชการจุดมุ่งหมายและขอบเขตของวินัยข้าราชการ 1. เพื่อให้ราชการดำเนินไปด้วยดี มีประสิทธิภาพ 2. เพื่อความเจริญ ความสงบ เรียบร้อย ของประเทศชาติ 3. เพื่อความผาสุกของประชาชน 4. เพื่อสร้างภาพพจน์ชื่อเสียงที่ดี ของทางราชการ

  4. พ.ร.บ.ข้าราชการพลเรือนฯพ.ศ.2551พ.ร.บ.ข้าราชการพลเรือนฯพ.ศ.2551 • แยก “ข้อปฏิบัติ” และ “ข้อห้ามปฏิบัติ”ออกจากกันเป็นข้อละมาตรา • จัดกลุ่มความผิดวินัย “ร้ายแรง” และ “ไม่ร้ายแรง” • เพิ่มหลักการเรื่อง “คุกคามทางเพศ”และ “คุ้มครองข้าราชการผู้ให้ข้อมูลอันเป็นประโยชน์ต่อราชการ”

  5. มาตรา 84 “ข้าราชการพลเรือนสามัญผู้ใดไม่ปฏิบัติตามข้อปฏิบัติตามมาตรา 81 และมาตรา 82 หรือฝ่าฝืนข้อห้ามตามมาตรา 83 ผู้นั้นเป็นผู้กระทำผิดวินัย”

  6. ตนเอง ประเทศชาติ ผู้บังคับบัญชา ประชาชน ตำแหน่ง หน้าที่ ผู้ร่วมงาน

  7. วินัยต่อประเทศชาติ • สนับสนุนการปกครองระบอบประชาธิปไตย • อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขตาม • รัฐธรรมนูญด้วยความบริสุทธิ์ใจ (มาตรา 81) • สนใจและรับทราบเหตุการณ์เคลื่อนไหวอันอาจ • เป็นภยันตรายต่อประเทศชาติและต้องป้องกัน • ภยันตรายซึ่งจะบังเกิดแก่ประเทศชาติจน เต็มความสามารถ (มาตรา 86 ปี 35 ) (ปี 51 ไม่มี)

  8. วินัยต่อประชาชน ม.82(8) ต้อนรับ ให้ความสะดวก ให้ความเป็นธรรม ให้การสงเคราะห์ ประชาชน ผู้ติดต่อราชการ เกี่ยวกับหน้าที่ของตน ม.83(9) ต้องไม่ดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่หรือข่มเหงประชาชนผู้ติดต่อราชการ ม.85(5) ดูหมิ่น เหยียดหยาม กดขี่ ข่มเหงหรือทำร้ายประชาชนผู้ติดต่อราชการอย่างร้ายแรง เป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง

  9. วินัยต่อผู้บังคับบัญชาวินัยต่อผู้บังคับบัญชา • ปฏิบัติตามคำสั่ง ม.82 (4) • ไม่รายงานเท็จ ม.83 (1) • ไม่กระทำการข้ามผู้บังคับบัญชา • ม.83 (2)

  10. องค์ประกอบ มาตรา 82 (4) 1. มีคำสั่งผู้บังคับบัญชา 2. ผู้สั่งเป็นผู้บังคับบัญชาตามกฎหมาย - กฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน - กฎหมายการจัดตั้งส่วนราชการโดยเฉพาะ - พรบ.35 ม. 43 / พรบ. 51 ม. 49 3. สั่งในหน้าที่ราชการ- ผู้สั่งมีหน้าที่ราชการและสั่งให้ปฏิบัติราชการ 4. เป็นคำสั่งที่ชอบด้วยกฎหมาย ระเบียบ 5. มีเจตนา ขอให้ผู้บังคับบัญชาทบทวนคำสั่งได้ถ้าเห็นว่าจะทำให้เสียหาย / ไม่รักษาประโยชน์ของราชการ

  11. มาตรา 83 (1) องค์ประกอบ1. มีการรายงาน2. เป็นเท็จหรือปกปิดข้อความซึ่งควรต้องแจ้ง3. เป็นการรายงานต่อผู้บังคับบัญชา 4. โดยเจตนา

  12. องค์ประกอบ มาตรา 83 (2) 1. เป็นการปฏิบัติราชการ 2. เป็นการข้ามผู้บังคับบัญชาเหนือตน 3. เป็นผู้บังคับบัญชาตามกฎหมาย 1. ผู้บังคับบัญชาเหนือขึ้นไปเป็นผู้สั่งให้กระทำ 2. ได้รับอนุญาตเป็นพิเศษชั่วครั้งคราว ข้อยกเว้น

  13. วินัยต่อผู้ร่วมงาน • ต้องสุภาพเรียบร้อย รักษาความสามัคคี ช่วยเหลือกัน ในการปฏิบัติราชการ(มาตรา 82 (7)) • ต้องไม่กลั่นแกล้ง กดขี่ ข่มเหงกัน ในการปฏิบัติราชการ (มาตรา 83 (7)) • ต้องไม่กระทำการล่วงละเมิด / คุกคามทางเพศ ตามที่กำหนดใน กฎ ก.พ. (มาตรา 83 (8))

  14. วินัยต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการวินัยต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ 1. ซื่อสัตย์สุจริต

  15. ซื่อสัตย์สุจริต • ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต • และเที่ยงธรรม (ม.82(1)) • ไม่อาศัยตำแหน่งหน้าที่ราชการหาประโยชน์ ให้แก่ตนเองหรือผู้อื่น(ม.83(3)) • ปฏิบัติ/ละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ราชการ (ม.85(1))- โดยมิชอบเพื่อให้เกิดความเสียหายอย่างร้ายแรงแก่ผู้หนึ่งผู้ใด - โดยทุจริต

  16. 1. กฎหมายหรือระเบียบ 2. มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง 3. คำสั่งหรือการมอบหมายของผู้บังคับบัญชา 4. พฤตินัย หน้าที่ราชการ พิจารณาจาก

  17. การทุจริตต่อหน้าที่ราชการการทุจริตต่อหน้าที่ราชการ องค์ประกอบ 1. มีหน้าที่ราชการที่จะต้องปฏิบัติ 2. ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่ โดยมิชอบ 3. เพื่อให้ตนเองหรือผู้อื่นได้ประโยชน์ที่มิควรได้ 4. เจตนาทุจริต (เถยจิต)

  18. มติ ค.ร.ม.วันที่ 21 ธ.ค.2536 (นร 0205/ว 234 ลว. 24 ธค.2536) - การลงโทษผู้กระทำผิดวินัยฐานทุจริต ควรลงโทษเป็นไล่ออกจากราชการ - การนำเงินที่ทุจริตไปแล้วมาคืน หรือ มีเหตุอันควรปรานีอื่นใด ไม่เป็นเหตุ ลดหย่อนโทษเป็นปลดออกจากราชการ

  19. 2.ม.82 (2) * ข้าราชการต้องปฏิบัติราชการให้เป็นไปตาม - กฎหมาย - ระเบียบของทางราชการ - มติคณะรัฐมนตรี - นโยบายของทางราชการ * ปฏิบัติตามระเบียบแบบแผนของทางราชการ

  20. 3. ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ให้เกิดผลดี /ความก้าวหน้าแก่ราชการด้วยความอุตสาหะ เอาใจใส่ระมัดระวังรักษาประโยชน์ของ ทางราชการ (ม. 82(3)) 4. * อุทิศเวลาให้แก่ราชการ (ม. 82(5)) * ละทิ้งหรือทอดทิ้ง โดยไม่มีเหตุผลอันสมควร เป็นเหตุให้ เสียหายแก่ราชการอย่างร้ายแรง (ม.85(2)) *ละทิ้งติดต่อเกินกว่าสิบห้าวันโดยไม่มีเหตุผลอันสมควร / มีพฤติการณ์จงใจไม่ปฏิบัติตามระเบียบ (ม.85(3))

  21. 5. ต้องไม่ประมาทเลินเล่อในหน้าที่ราชการ (ม.83(4)) 6. รักษาความลับของทางราชการ (ม.82(6)) 7. ไม่หาประโยชน์อันอาจทำให้เสียความเที่ยงธรรม หรือเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์ของตำแหน่งหน้าที่ (ม.83(5)) 8. ไม่เป็นกรรมการผู้จัดการ หรือผู้จัดการ ในห้างหุ้นส่วนหรือ บริษัท (ม. 83(6)) 9. วางตนเป็นกลางทางการเมือง ( ม.82(9))

  22. วินัยต่อตนเอง - ต้องรักษาชื่อเสียงของตน รักษาเกียรติศักดิ์ ของตำแหน่งหน้าที่ราชการของตนมิให้เสื่อมเสีย (ม.82(10)) - ประพฤติชั่วอย่างร้ายแรง (ม.85(4)) -กระทำผิดอาญาจนได้รับโทษจำคุก (ม85(6))

  23. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการป้องกันเจ้าหน้าที่ของรัฐ มิให้เกี่ยวข้องกับยาเสพติด พ.ศ. 2542 ประเด็นสำคัญ เข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด หรือเป็นผู้ประกันผู้ต้องหาหรือจำเลย โดยใช้หลักทรัพย์หรือสถานะ การเป็นเจ้าหน้าที่ของรัฐในชั้นพนักงานสอบสวน พนักงานอัยการ หรือศาล ในความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด ในข้อหาผลิต นำเข้า ส่งออก จำหน่าย หรือมีไว้ในครอบครองเพื่อจำหน่าย ให้ถือว่าเจ้าหน้าที่ของรัฐนั้นเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ซึ่งจะต้องดำเนินการ ทางวินัยอย่างร้ายแรง เว้นแต่ เป็นการกระทำกับบุคคลซึ่งเป็นสามีหรือภริยา บุพการี หรือ ผู้สืบสันดาน ไม่ว่าชั้นใดๆ ของเจ้าหน้าที่ของรัฐนั้น

  24. มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม 2496 และวันที่ 6 พฤษภาคม 2546 เรื่อง แนวทางการลงโทษข้าราชการเล่นการพนันและเสพสุรา เล่นการพนัน ปลดออกหรือไล่ออกจากราชการ ประเภทที่กฎหมายห้ามขาด ประเภทที่กม.บัญญัติว่าจะเล่นได้ต่อเมื่อได้รับอนุญาต ลงโทษตามสมควรแก่กรณี เล่นโดยไม่ได้รับอนุญาต เล่นโดยได้รับอนุญาตแต่หมกมุ่นจนเสียหายแก่ราชการ ลงโทษตามสมควร แก่กรณี

  25. เสพสุรา เสพสุราจนมึนเมาไม่สามารถครองสติได้ ลงโทษตามสมควรแก่กรณี เสพสุราในขณะปฏิบัติหน้าที่ราชการ ปลดออกหรือไล่ออก เมาสุราเสียราชการ ปลดออกหรือไล่ออก เมาสุราในที่ชุมชนจนเกิดเรื่องเสียหายหรือ เสียเกียรติศักดิ์ของตำแหน่งหน้าที่ราชการ ปลดออกหรือไล่ออก

  26. ป.ป.ช.(ม.4) และ ป.ป.ท.(ม.3) “ทุจริตต่อหน้าที่” ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่อย่างใดในตำแหน่งหรือหน้าที่ หรือ ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติหน้าที่อย่างใดในพฤติการณ์ที่อาจทำให้บุคคลอื่นเชื่อว่ามีตำแหน่งหรือหน้าที่ ทั้งนี้ เพื่อแสวงหาประโยชน์ที่มิควรได้โดยชอบสำหรับตนเองหรือผู้อื่น หรือกระทำการอันเป็นความผิดวินัยต่อตำแหน่งหน้าที่ราชการ หรือความผิดต่อตำแหน่งหน้าที่ ในการยุติธรรม ตาม ป.อาญา หรือกฎหมายอื่น

  27. ป.ป.ช.(ม.92) และ ป.ป.ท.(ม.40) ในกรณีมีมูลความผิดทางวินัย เมื่อคณะกรรมการฯได้พิจารณาพฤติการณ์แห่งการกระทำความผิดแล้วมีมติว่า ผู้ถูกกล่าวหาว่ากระทำผิดวินัย ให้ส่งเรื่องให้ผู้บังคับบัญชาหรือผู้มีอำนาจแต่งตั้งถอดถอนพิจารณาลงโทษทางวินัย ภายใน 30 วัน

  28. ป.ป.ช.(ม.96) และ ป.ป.ท.(ม.40) ผู้ถูกกล่าวหาที่ถูกลงโทษจะใช้สิทธิอุทธรณ์ดุลพินิจในการสั่งลงโทษของผู้บังคับบัญชาตามกฎหมาย ระเบียบฯก็ได้ ทั้งนี้ ต้องใช้สิทธิอุทธรณ์ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ผู้บังคับบัญชาหรือผู้มีอำนาจแต่งตั้งถอดถอนมีคำสั่งลงโทษ

  29. พ.ร.บ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการตรวจเงินแผ่นดิน พ.ศ.2542 ม.46 ในกรณีที่ตรวจสอบแล้วปรากฏว่า มีพฤติการณ์น่าเชื่อว่าเป็นการทุจริตหรือการใช้อำนาจหน้าที่โดยมิชอบก่อให้เกิดความเสียหายแก่เงินหรือทรัพย์สินของราชการให้แจ้งผลให้ผู้รับตรวจ ผู้บังคับบัญชาฯ แล้วแต่กรณี ดำเนินการตามกฎหมาย และแจ้งผลต่อพนักงานสอบสวนดำเนินคดี

  30. ขอขอบคุณ

More Related