930 likes | 1.45k Vues
เทคโนโลยีการสื่อสารแห่งอนาคต ในระบบ 3G และ 4G. ส่วนผลิตภัณฑ์และบริการ สำนักงานบริการลูกค้า กสท เขตใต้ บมจ. กสท โทรคมนาคม. What is the meaning of generation? . Generation = ยุค. What is the meaning of 1G, 2G, 3G, and 4G? .
E N D
เทคโนโลยีการสื่อสารแห่งอนาคตในระบบ 3G และ 4G ส่วนผลิตภัณฑ์และบริการ สำนักงานบริการลูกค้า กสท เขตใต้ บมจ. กสท โทรคมนาคม
What is the meaning of generation? Generation = ยุค
What is the meaning of 1G, 2G, 3G, and 4G? In short, 1G, 2G, 3G, and 4G wireless technology stands for first, second, third and fourth generation respectively.
First Mobile Radio Telephone 1924 source: www.bell-labs.com/technology/wireless/earlyservice.html
พัฒนาการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศไทยพัฒนาการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศไทย
ยุค 1G • กันยายน พ.ศ. 2529 กรมไปรษณีย์โทรเลขอนุมัติคลื่นความถี่วิทยุ 470MHz ให้กับองค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย เพื่อให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ระบบ NMT (Nordic Mobile Telephone) • เริ่มต้นมีผู้ให้บริการเพียงสองราย • องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย หรือ บริษัท ทีโอที จำกัด (มหาชน) ในปัจจุบัน (TOT Public Company Limited) • การสื่อสารแห่งประเทศไทย หรือ บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) ในปัจจุบัน (CAT TELECOM PUBLIC COMPANY LIMITED)
ยุค 1G • กรมไปรษณีย์โทรเลขเลือกใช้ระบบ NMT โดยใช้ความถี่วิทยุในย่าน 470 เมกะเฮิร์ตซ์ • เริ่มแรกมีเฉพาะเครื่องที่ติดตั้งในยานพาหนะ และ เครื่องชนิดหิ้ว (Portable Set)
ยุค 1G • องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยเร่งบริษัทที่เกี่ยวข้องให้พัฒนาและ ผลิตโทรศัพท์มือถือออกวางจำหน่าย แต่ยังมีข้อจำกัดดังนี้ • ขนาดใหญ่ • ราคาแพง • อายุการใช้งานไม่ทนทาน
ยุค 1G • ด้วยข้อจำกัดหลายประการของระบบ NMT • กสท. นำเอามาตรฐาน AMPS (Advanced Mobile Phone System) มาเปิดบริการในประเทศไทยโดยใช้คลิ่นความถี่ 800MHz • โทรศัพท์มือถือมีขนาดค่อนข้างเล็ก • องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยได้ระงับการขยายโครงข่ายระบบ NMT 470MHz และหันมาใช้มาตรฐาน NMT 900MHz พร้อมเปิดให้บริษัทเอกชนเข้ามาร่วมลงทุน
ยุค 1G • บริษัทเอกชนที่เข้ามาร่วมลงทุนในระยะแรกได้แก่ • บริษัท แอดวานซ์ อินโฟร์ เซอร์วิส จำกัด (มหาชน) หรือ AIS ได้รับสัมปทาน ตั้งแต่ พ.ศ. 2533 ภายใต้เครื่องหมายการค้า Cellular 900 โดยมีระยะเวลาสัมปทาน 20 ปี • TAC หรือ บริษัท โทเทิล แอ็คเซส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) ได้รับสัมปทานจาก การสื่อสารแห่งประเทศไทย เป็นระยะเวลา 27 ปี และได้เริ่มดำเนินธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบบ AMPS 800MHz ภายใต้เครื่องหมายการค้า Worldphone 800
พัฒนาการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศไทยพัฒนาการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศไทย • ข้อจำกัดของโทรศัพท์ในยุคนี้ • คุณภาพเสียงไม่ค่อยดี • ไม่สามารถตอบสนองลูกค้าที่มีอัตราการขยายตัวเพิ่มขึ้น • อาจถูกแอบดังฟังคลื่นวิทยุที่ในติดต่อ เพื่อดึงรหัสประจำตัวเครื่องออกมา เพื่อนำไปโคลนนิ่งอุปกรณ์โทรศัพท์ขึ้นมาได้
ยุค 2G • ปี 2537 AIS นำระบบ GSM คลื่นความถี่ 900MHz มาให้บริการสำหรับลูกค้า Postpaid ภายใต้เครื่องหมายการค้า GSM Advance • TAC นำระบบ GSM 1800MHz มาแข่งขัน ภายใต้เครื่องหมายการค้า Worldphone 1800
ยุค 2G • เทคโนโลยีมีการพัฒนาอย่างมาก • ฐานลูกค้าที่มีการขยายตัวมากยิ่งขึ้น • อุปกรณ์โทรศัพท์มือถือก็มีราคาถูกลง • มีการนำระบบ Prepaid มาใช้ AIS ใช้เครื่องหมายการค้า One-2-Call ส่วน TAC ใช้เครื่องหมายการค้า Dpromptและเปลี่ยนเครื่องหมายการค้าจาก Worldphoneเป็น DTAC
ยุค 2G • ระบบโทรศัพท์แอนะล็อกค่อย ๆ หายไป โดยผู้ให้บริการได้ระงับการขยายโครงข่าย และพยายามดึงลูกค้าให้มาใช้ระบบ GSM แทน โดยลูกค้าไม่ต้องเปลี่ยนหมายเลขโทรศัพท์
ยุค 2G • พ.ศ. 2544TAO หรือ บริษัท ทีเอ ออเร้นจ์ จำกัด เริ่มเข้ามาให้บริการโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบบ GSM 1800MHz • เปิดให้บริการทั้งในระบบ Postpaid และ Prepaid ภายใต้เครื่องหมายการค้า Just Talk • ระยะแรกการให้บริการของออเร้นจ์ติดขัดในเรื่องสัญญาณไม่ครอบคลุม แต่ก็มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง จนมีฐานลูกค้ามากยิ่งขึ้น • บริษัทออเร้นจ์ฝรั่งเศสถอนตัวไป และถ่ายโอนกิจการให้ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) ปัจจุบันได้เปลี่ยนเครื่องหมายการค้าเป็น True
ยุค 2G • พ.ศ. 2545 กิจการร่วมการค้าไทยโมบาย ได้ถือกำเนิดขึ้นภายใต้ความร่วมมือระหว่าง บริษัท กสท โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) กับ บริษัท ทีโอที คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) โดยเปิดให้บริการเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบบ GSM 1900 เมกะเฮิร์ตซ์
ยุค 2G • ปี พ.ศ. 2546 บริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวร์เลส จำกัด ภายใต้ชื่อเครื่องหมายการค้า HUTCH ได้เข้ามาดำเนินธุรกิจโทรศัพท์เคลื่อนที่ในระบบ CDMA (Code Division Multiple Access) ความถี่ 800MHz โดยได้รับสัมปทานจาก บริษัท กสท. โทรคมนาคม จำกัด (มหาชน) โดยเน้นให้บริการด้านข้อมูล และ คุณภาพของสัญญาณที่ชัดเจน
3G สามารถให้บริการแตกต่างจาก 2 G คือ…
เทคโนโลยี CDMA2000 (ของ CAT) • CAT CDMA ครอบคลุม 51 จังหวัด มี Cell Site CDMA ทั้งหมด 800 แห่ง • ภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคใต้ ยกเว้นภาคกลางและตะวันออก (http://www.catcdma.com/about_as/coveragearea/index.htm) • ใช้เทคโนโลยี CDMA 20001X EV-DO rev. A ซึ่งมี ความเร็ว 3.1 Mbps • ย่านคลื่นความถี่ให้บริการคือ 800 MHz
เทคโนโลยี CDMA2000 (ของ Hutch) • HUTCHCDMA ครอบคลุม 25 จังหวัด • CDMA 20001X และ CDMA 20001XEV-DO ซึ่งมีความเร็วสูงสุด 2.4 Mbps • ใช้โครงข่ายของ กสท โดยบริษัท ฮัทชิสัน ซีเอที ไวร์เลส มัลติมีเดีย จำกัด ทำการตลาด ที่มา : http://www.hutch.co.th/networkcoverage/map/thai/index_th.htm
EDGE GPRS WCDMA CDMA2000 1x EV/DO CDMA2000 1x evolved 2G 3G 384 kbps - 2 Mbps 64–144 kbps Introduction & Technology TDMA GSM HSPA LTE PDC LTE-A cdmaOne 4G 2G evolved 3G =>100 Mbps 384 kbps - 100 Mbps 9.6 - 14.4 kbps
ผู้ให้บริการระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศไทยผู้ให้บริการระบบโทรศัพท์เคลื่อนที่ในประเทศไทย • AIS • DTAC • True Move • TOT • CAT • Hutch HSPA CDMA 20001X หรือ CDMA 20001XEV-DO
OFDMA Orthogonal = ตั้งฉากกัน
Technology • 1G = APMS, NMT • 2G = GSM • 2.5G = GPRS • 2.75G = EDGE • 3G = WCDMA • 3.5G = HSDPA • 3.75G = HSUPA • 3.8G = HSPA+ (HSPA Enhancements) • 3.85G = 'HSPA+' + MIMO • 3.9G = LTE • 4G = WiMAX2 or LTE-A