1 / 49

ตัวแปรทำให้เกิด ความเปราะบาง

สถาบันครอบครัว. ตัวแปรทำให้เกิด ความเปราะบาง. HOME SWEET HOME. Home คือที่ที่มีหัวใจอยู่ House คือการร่วมชายคา Hotel คือที่พักและที่กิน Hell คือที่ที่ไม่มีรัก. ครอบครัวเปราะบาง. การพัฒนาของเด็กรวดเร็ว ที่มาของข้อมูลข่าวสารมีมากมาย การพลัดพรากเร็วขึ้น

Télécharger la présentation

ตัวแปรทำให้เกิด ความเปราะบาง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สถาบันครอบครัว ตัวแปรทำให้เกิด ความเปราะบาง

  2. HOME SWEET HOME • Home คือที่ที่มีหัวใจอยู่ • House คือการร่วมชายคา • Hotel คือที่พักและที่กิน • Hell คือที่ที่ไม่มีรัก

  3. ครอบครัวเปราะบาง การพัฒนาของเด็กรวดเร็ว ที่มาของข้อมูลข่าวสารมีมากมาย การพลัดพรากเร็วขึ้น คนอื่นมีบทบาทและหน้าที่แทนพ่อแม่ เวลาอยู่ด้วยกันน้อยลง

  4. สถิติแห่งชาติปี 2545 การเลี้ยงดูเด็กก่อนวัยเรียน เปลี่ยนแปลงไปตามความเป็นเมือง และการขยายตัวทางเศรษฐกิจที่เพิ่มขึ้น

  5. ทำให้พ่อแม่ต้องจากบ้านไปทำงาน จึงห่างจากบุตรเล็กๆมากขึ้น

  6. ส่งผลให้การแบบแผนการดูแลเด็กนอกระบบส่งผลให้การแบบแผนการดูแลเด็กนอกระบบ เช่น สถานรับเลี้ยงเด็ก ศูนย์พัฒนาเด็ก และโรงเรียนอนุบาล ฯลฯ มีแนวโน้มสูงขึ้น

  7. ช่วง 06.00 – 18.00 เด็กวัย 0-5 ขวบ มีร้อยละ 44.5 เท่านั้นที่พ่อแม่ดูแล โดยแบ่งเป็น 0-2 ปี ร้อยละ 60.7 3-5 ปี ร้อยละ 28.6

  8. ส่วนใหญ่ ร้อยละ 53.3 อยู่ในความดูแลของสถานรับเลี้ยงเด็ก โรงเรียน ศูนย์พัฒนาเด็ก

  9. ปี 2548 เด็กชนบท ร้อยละ 37.3 อยู่ความดูแลของปู่ย่าตายาย

  10. สถิติแห่งชาติปี 2548 ครอบครัวไทยร้อยละ 54.5 มีสภาพเป็นครอบครัวเดี่ยว สมาชิกในครอบครัวมีสองรุ่น พ่อแม่และลูก

  11. สถิติแห่งชาติล่าสุด ครอบครัวเดี่ยว 9.4 ล้าน อยู่พ่อแม่และลูก 5.6 ล้าน พ่อหรือแม่เลี้ยงลูกฝ่ายเดียว 1.3 ล้าน

  12. ครอบครัวหย่าร้างขยายตัวดุเดือดครอบครัวหย่าร้างขยายตัวดุเดือด ข้อมูลสำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครองปี 2539-2549 มีการหย่าเพิ่มขึ้นทุกปี

  13. ปี 2539 มีการจดทะเบียนหย่า 56,718 คู่ ในปี 2549 เพิ่มเป็น 91,155 คู่ 5 คู่ หย่าร้าง 1 คู่ เฉลี่ยชั่วโมงละ 10 คู่

  14. เอแบคโพลระบุสามเหตุของการหย่าร้างเอแบคโพลระบุสามเหตุของการหย่าร้าง การชู้สาวและนอกใจ ร้อยละ 74.9 หรือหนึ่งในสาม

  15. ร้อยละ 61.3 สาเหตุมาจากการไม่รับผิดชอบต่อครอบครัว

  16. ร้อยละ 57.7 สาเหตุจากจากการทำร้าย

  17. วิธีการเลี้ยงดู ครอบครัวแห่งวัตถุ เน้นวัตถุ เงิน สิ่งของ เลี้ยงลูกด้วยเครื่องยนต์กลไก เด็กสวดขอให้เป็นโทรทัศน์

  18. ครอบครัวต้นกำเนิดคุณค่าครอบครัวต้นกำเนิดคุณค่า • ครอบครัวเป็นโรงเรียนแรก เป็นวัดแรก เป็นสังคมแรก • ความรักและความอบอุ่นเพื่อการเติบโตพัฒนาอย่างครบองค์ • ความรักก่อให้เกิดความมั่นใจในคุณค่า • ความรักสร้างความผูกพันทางใจ มีความเกรงใจ กลัวจะเสียใจ จะผิดหวัง

  19. การอบรมเลี้ยงดู • พ่อแม่ฝากฝังลูกไว้กับการอบรมของโรงเรียน ครู คนรับใช้ • การอบรมจึงไม่ใช่การซึมซับ แต่เป็นการกำหนดสิ่งต้องทำและให้ทำตาม • พ่อแม่ถือว่าการเลี้ยงดูให้การศึกษาลูกเป็นการ “ลงทุน” • จึงมองแค่ผลการเรียนเป็นตัว “ขาดทุน” หรือ “กำไร” และถือว่าเป็นคนกำหนดการเรียน การเลือกคณะ • แต่ไม่เคยคำนึงว่าลูกมีความสุขกับการเรียน ลูกมีความถนัด ลูกชอบอะไร

  20. ชนิดของครอบครัวที่เปลี่ยนไปชนิดของครอบครัวที่เปลี่ยนไป • รอบครัวเดี่ยวหรือครอบครัวเฉพาะ ประกอบด้วยบิดา มารดาและบุตร สังคมสมัยใหม่ทั่วไปมักมีครอบครัวประเภทนี้เป็นจำนวนมาก จนมีผู้กล่าวว่าสังคมใดมีความเจริญทางอุตสาหกรรมและการค้า ครอบครัวในสังคมนั้นจะเป็นครอบครัวเดี่ยว หรือครอบครัวเฉพาะเป็นส่วนใหญ่

  21. ครอบครัวขยายหรือครอบครัวเสริมครอบครัวขยายหรือครอบครัวเสริม ครอบครัวประเภทนี้มีพื้นฐานจากครอบครัวเดิมมาจากครอบครัวเฉพาะ ซึ่งสมาชิกประกอบด้วย บิดา มารดา และบุตร นอกจากนี้ยังมีญาติพี่น้องอื่น ๆ เป็นสมาชิกอาศัยร่วมอยู่ด้วย ซึ่งอาจจะเป็น ปู่ ย่า ตา ยาย หรือ ลุง ป้า น้า อา และอาจจะมีหลานร่วมด้วย

  22. อาชีพการงานคือตัวแปร • เนื่องจากในสังคมไทยปัจจุบันสามีภรรยามักออกทำงานนอกบ้านทั้งคู่ ลูกจ้างที่ต้องเลี้ยงดูบุตรที่ยังเล็กอยู่หาได้ยากหรืออาจได้ลูกจ้างที่ไม่เหมาะสม ซึ่งมีผลทำให้บุตรเจริญเติบโตมาด้วยความว้าเหว่ ขาดความอบอุ่น ถ้ามีญาติผู้ใหญ่อาศัยอยู่ด้วยแบบครอบครัวขยายหรือครอบครัวเสริมก็สามารถดูแลให้การอบรมคุณธรรม จริยธรรม ด้วยความรักความเอาใจใส่ ทำให้บุตร

  23. เจริญเติบโตเป็นคนดี มีคุณธรรม เป็นพลเมืองที่ดีของสังคมและประเทศชาติ ซึ่งบิดาและมารดาที่มีภาระหน้าที่พิเศษทางสังคมเป็นจำนวนมากไม่สามารถทำได้

  24. มิตรภาพ การดูแลและความเป็นบิดาช่วยสร้างบรรยากาศครอบครัว ณ ที่ซึ่งมีความเข้าใจด้านคุณค่าและการยอมรับในสิ่งที่คุณค่าเรียกร้องและเช่นนี้ก็เกิดมีความสมดุลระหว่างท่าทีแห่งอำนาจซึ่งเสี่ยงที่จะไม่มีอิทธิพลเหนือเยาวชนแม้จะได้ผลภายนอกกับการปฏิบัติกับเยาวชนอย่างไม่มีเป้าหมายความสมดุลระหว่างการก้าวก่ายจนเยาวชนไม่สามารถแสดงออกได้อย่างอิสระกับการอบรมแบบปล่อยตามใจอย่างไร้ความผิดชอบ

  25. โดยไม่มีความพยายามจะสื่อคุณค่าใดๆความสมดุลระหว่างท่าทีเป็นเพื่อนมากเกินไปกับพฤติกรรมแบบผู้ใหญ่ที่รับผิดชอบ (คำขวัญ2008)

  26. ตอบรับการท้าทาย • คุณพ่อบอสโกให้บ้าน ให้อาหาร ให้การศึกษา และให้ครอบครัว • แต่ละสถาบัน เหมือนศูนย์เยาวชนแห่งวัลดอกโกต้องเป็น “บ้านที่ต้อนรับ วัดที่ประกาศข่าวดี โรงเรียนเตรียมสู่ชีวิต และสนามแห่งการพบปะของเพื่อนๆและใช้ชีวิตในความร่าเริงเบิกบาน” สำหรับเยาวชน

  27. จึงต้องมีการจัดบริบท กฎเกณฑ์ชีวิตของหมู่คณะ ของกลุ่ม กิจกรรมพักผ่อนในเชิงสร้างสรรค์ เชิงวัฒนธรรม เชิงศาสนา โดยให้ทุกคนมีส่วนร่วม ร่วมรับผิดชอบ มีบทบาท...ใช้รูปแบบการสื่อสารต่างๆเพื่อสื่อถึงกันและกัน ทั้งในระดับตัวต่อตัว สนิทสนม (Carlo Nanni)

  28. ผู้อบรมเป็นฝ่ายแรกที่เข้าหา ถามทุกข์สุข ติดตาม ครูที่เห็นสอนในห้อง ก็เป็นแค่ครู แต่ครูที่นอกจากสอน ยังพูดคุยในสนาม ก็เป็นทั้งครู ทั้งเพื่อน ทั้งพี่ ทั้งพ่อ/แม่ พระสงฆ์ที่เทศฯ... • ให้ความสำคัญแก่การรู้จักพ่อแม่ของเด็กและบริบทครอบครัว

  29. ทำให้โรงเรียนเป็นบ้านหลังที่สองของเด็กทำให้โรงเรียนเป็นบ้านหลังที่สองของเด็ก • สร้างความต่อเนื่องในวิถีชีวิตระหว่างบ้านหลังที่หนึ่งและหลังที่สอง รวมทั้งองค์ประกอบต่างๆให้กลมกลืนและลงตัว

  30. คุณพ่อบอสโกเลือก “การดูแลช่วยเหลือ” มากกว่าคำ “การดูแลสอดส่อง” • การดูแลช่วยเหลือในธรรมเนียมซาเลเซียนคือ “การอยู่ด้วยกันตลอดเวลา” จึงไม่ใช่การอยู่แค่ทางกาย แต่เป็นการอยู่แบบอบรม ซึ่งเอื้อให้ใช้ทุกโอกาสเพื่อแนะนำ ชี้แนะ ให้กำลังใจ...อย่างที่คุณพ่อบอสโกทำ“คำพูดที่หู”

  31. เพื่อทำเช่นนี้ได้อย่างกลมกลืนและเด็กไม่อึดอัด เด็กๆต้องหายใจบรรยากาศแห่งครอบครัว “รู้สึกเหมือนอยู่บ้าน” หายใจบรรยากาศ “เป็นกันเอง” และร่วมรับผิดชอบ โดยมีพื้นฐานแห่ง “เหตุผล ศาสนา ความรัก” ในเวลาเดียวกันเป็นบรรยากาศที่เด็กหายใจความนึกคิดและคุณค่าที่นำเสนอเพื่อการเติบโตพัฒนาของพวกเขา (Carlo Nanni)

  32. คุณพ่อบอสโกบอกผู้ร่วมงานให้ “พยายามทำตัวน่ารัก”ซึ่งหมายถึงการทำและแสดงความใกล้ชิด ทำตัวเป็นเพื่อนที่ไว้วางใจที่เยาวชนสามารถพูดได้ทุกอย่าง ทำตัวมีกาลเทศะและสัตย์ซื่อ ทำตัวให้เป็นที่ยอมรับ เป็นที่รัก แม้จะต่างในฐานะบทบาท บุคลิก อายุ ทัศนคติ ในเวลาเดียวกันก็ขจัดความเย็นเฉย กระนั้นก็ดี ทั้งหมดต้องทำไปในบริบทแห่งการอบรมแท้จริงและมีประสิทธิภาพ

  33. พบปะ ประชุม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับพ่อแม่และผู้ปกครอง • เน้นความสำคัญของการร่วมมือระหว่างโรงเรียนและครอบครัวเพื่อการพัฒนาและการอบรมเด็ก เพื่อการอบรมของเด็กต่อเนื่อง ทั้งในโรงเรียนและในครอบครัว

  34. เปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มาให้โอวาทหรือมาร่วมกิจกรรมต่างๆเปิดโอกาสให้ผู้ปกครองได้มาให้โอวาทหรือมาร่วมกิจกรรมต่างๆ • ยืดวันพ่อวันแม่ให้มีมากกว่าหนึ่งวันในรอบปี • ค้ำจุน สนับสนุน และเสริมบทบาทหน้าที่ของพ่อแม่ โดยเฉพาะ กับผู้ปกครองเดี่ยว

  35. พ่อแม่ไม่ มีเงินทอง จะกองให้ จงตั้งใจ พากเพียร เรียนหนังสือ ทุกวิชา ความรู้ เป็นคู่มือ จงยึดถือ เอาไว้ ใช้เลี้ยงตน

  36. พ่อกับแม่ มีแต่ จะแก่เฒ่า จะเลี้ยงเจ้า เรื่อยไปนั้น อย่าได้หมาย ใช้วิชา ช่วยตนไป จนวันตาย เจ้าสบาย แม่-พ่อ ก็ชื่นใจ พ่อ-แม่

More Related