1 / 33

อรรถพล โชติรัตนพิทักษ์ พ.บ. ภัทรา วัฒนพันธุ์ พ.บ.วว.เวชศาสตร์ฟื้นฟู

Quality of life in spinal cord injured patients with neurogenic bladder. คุณภาพชีวิตในผู้ป่วยกระเพาะปัสสาวะพิการ จากการบาดเจ็บไขสันหลัง. อรรถพล โชติรัตนพิทักษ์ พ.บ. ภัทรา วัฒนพันธุ์ พ.บ.วว.เวชศาสตร์ฟื้นฟู ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. การบาดเจ็บไขสันหลัง.

Télécharger la présentation

อรรถพล โชติรัตนพิทักษ์ พ.บ. ภัทรา วัฒนพันธุ์ พ.บ.วว.เวชศาสตร์ฟื้นฟู

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. Quality of life in spinal cord injured patients with neurogenic bladder คุณภาพชีวิตในผู้ป่วยกระเพาะปัสสาวะพิการ จากการบาดเจ็บไขสันหลัง อรรถพล โชติรัตนพิทักษ์ พ.บ. ภัทรา วัฒนพันธุ์ พ.บ.วว.เวชศาสตร์ฟื้นฟู ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

  2. การบาดเจ็บไขสันหลัง อาการอ่อนแรงของแขนขา การสูญเสียความรู้สึก • ความผิดปกติใน • การควบคุม • ระบบขับถ่ายปัสสาวะและอุจจาระ Spinal cord injury

  3. NEUROGENIC BLADDER • ความผิดปกติในการควบคุม • ระบบขับถ่ายปัสสาวะ Physical problems Psychological problems Psychosocial problems • Physical limitation • Abnormal voiding • Renal complication VUR Hydronephrosis Renal failure UTI • Emotion Depressed Anxious Feel bad • Sleep interfere • Personal relationship Partner Sex life • Social limitations Social life Visit friends Family life Quality of Life

  4. * ข้อมูลจากสารสนเทศการบริการพยาบาล ปี 2551 แผนกการพยาบาลบำบัดพิเศษ หอผู้ป่วย เวชศาสตร์ฟื้นฟูโรงพยาบาล ศรีนครินทร์ ผู้ป่วยนอนโรงพยาบาล มากกว่าร้อยละ 50 เป็นผู้ป่วยรอยโรคที่ไขสันหลัง ส่วนใหญ่เกิดจากการบาดเจ็บไขสันหลัง และ เกือบทั้งหมดมีปัญหากระเพาะปัสสาวะพิการ *

  5. คุณภาพชีวิต ของผู้ป่วยที่มีปัญหา กระเพาะปัสสาวะพิการจากการบาดเจ็บไขสันหลัง ในคนไทย ?

  6. การศึกษาคุณภาพชีวิตผู้ป่วยกระเพาะปัสสาวะพิการจากการบาดเจ็บไขสันหลัง มีหลายการศึกษา • แบบสอบถามคุณภาพชีวิตทั่วไป [1] • แบบสอบถามที่จำเพาะต่อโรค [2] [1] Ku JH. The management of neurogenic bladder and quality of life in spinal cord injury. BJU Int2006 Oct;98(4):739-45. [2] Costa P, Perrouin-Verbe B, Colvez A, Didier J, Marquis P, Marrel A, et al. Quality of life in spinal cord injury patients with urinary difficulties. Development and validation of qualiveen. Eur Urol2001 Jan;39(1):107-13.

  7. การศึกษาในประเทศไทย • มีการใช้แบบสอบถามคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชุดย่อ ฉบับภาษาไทย เพื่อการศึกษาเกี่ยวกับคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง [3] [3] Chinchai P, Sirisatayawong P, Wittayanin W. Relationship of functional abilities; depression, anxiety and stress; and quality of life of people with spinal cord injuries after leaving hospitals. Thailand Jounal of Health Promotion and Environmental Health 2008 Jul – Sep;31(3):119-128

  8. มีการศึกษาคุณภาพชีวิตผู้ป่วยกระเพาะปัสสาวะพิการจากการบาดเจ็บไขสันหลังโดยใช้แบบสอบถามมีการศึกษาคุณภาพชีวิตผู้ป่วยกระเพาะปัสสาวะพิการจากการบาดเจ็บไขสันหลังโดยใช้แบบสอบถาม King’s Health Questionnaire (KHQ)[12] [12] Gònzalez Viejo M, Sánchez Raya J, Romero G, Conejero J. Poster 290: Quality of Life Evaluation in Spinal Cord Injury Patients Comparing Different Bladder Management Techniques. Arch Phys Med Rehab 2007 Sep; 88(9): E95-E95.

  9. King’s Health Questionnaire ฉบับภาษาอังกฤษ [9] ประกอบด้วยคำถาม 8 ส่วน 1. General health perceptions 2. Impact on life 3. Role limitations 4. Travel &Social limitations 5. Personal relationship 6. Emotions 7. Sleep/energy 8. Incontinence severity [9] Kelleher CJ., Cardozo LD., Khullar V., Salvatore S.. A new questionnaire to assess the quality of life of urinary incontinent woman. Br J Obstet Gynecol 1997;104(12):1374-9.

  10. ศึกษาถึงคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยกระเพาะปัสสาวะพิการ จากการบาดเจ็บไขสันหลังที่ได้รับการรักษาที่ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ ” Descriptive study วัตถุประสงค์ รูปแบบการวิจัย

  11. กลุ่มประชากรที่ศึกษา • ผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง และมีภาวะกระเพาะปัสสาวะพิการ • ได้รับการรักษาที่แผนกเวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาลศรีนครินทร์ตั้งแต่วันที่ 1 ส.ค.2551 ถึง 31 ก.ค. 2552

  12. เกณฑ์ในการคัดเลือกเข้ามาศึกษาเกณฑ์ในการคัดเลือกเข้ามาศึกษา • ผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง อายุ ≥ 18 ปี • มีภาวะกระเพาะปัสสาวะพิการ • บาดเจ็บไขสันหลังมานาน ≥ 6 เดือน

  13. เกณฑ์ในการตัดออกจากการศึกษาเกณฑ์ในการตัดออกจากการศึกษา • ไม่ยินยอมเข้าร่วมงานวิจัย • มีความบกพร่องทางการสื่อสาร

  14. วิธีการดำเนินการวิจัยวิธีการดำเนินการวิจัย เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม (ผู้ป่วย 54 ราย) 1. ข้อมูลพื้นฐาน 2. คะแนนคุณภาพชีวิต • วิธีการขับถ่ายปัสสาวะ • ความพึงพอใจ King’s Health Questionnaire (KHQ) ฉบับภาษาไทย เปรียบเทียบคะแนนคุณภาพชีวิตระหว่างกลุ่ม วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิต

  15. การวิเคราะห์ทางสถิติ • สถิติเชิงพรรณนา • ข้อมูลทั่วไป • คะแนนคุณภาพชีวิต • สถิติเชิงวิเคราะห์ • เปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยคุณภาพชีวิตระหว่างกลุ่ม • วิเคราะห์หาปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิต

  16. ผลการศึกษา

  17. ระดับการบาดเจ็บ % patients

  18. วิธีขับถ่ายปัสสาวะ % patients 27.9 24.1 Method

  19. ความพึงพอใจ % patients 59.0 19.7 13.1 4.9 3.3

  20. KHQ ร้อยละค่าคะแนน คุณภาพชีวิตเฉลี่ย ต่ำ คุณภาพ ชีวิต สูง Impact on life

  21. ต่ำ คุณภาพชีวิต P < 0.05 สูง

  22. บทวิจารณ์ บทวิจารณ์

  23. คะแนนคุณภาพชีวิตส่วนใหญ่คะแนนคุณภาพชีวิตส่วนใหญ่ • อยู่ในระดับปานกลาง • ต่ำกว่าการศึกษาของ Westgren N, et al. [13] [13] Westgren N, CNM, Richard Levi, MD, PhD. Quality of Life and Traumatic Spinal Cord Injury. Arch Phys Med Rehabil 1998;79:1433-1439.

  24. คะแนนความพึงพอใจต่อวิธีการขับถ่ายปัสสาวะ คะแนนความพึงพอใจต่อวิธีการขับถ่ายปัสสาวะ • ส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลาง • ต่ำกว่าการศึกษาของ จิตหทัย และคณะ[12] [12]จิตหทัย จงจิตร, ลัดดา คมโสภาพงศ์, ประมุข ทรงจักรแก้ว. ความพึงพอใจในชีวิตของผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลัง. ว กรมวิทย พ 2545; 44 (1) : 42-50

  25. การศึกษานี้ พบเพียงปัจจัยเดียวคือ • ภาวะปัสสาวะเล็ดราดที่มีผลกับคะแนนคุณภาพชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ • (p < 0.05) • เช่นเดียวกับการศึกษาของ Hicken BL, et al. [4] [4] Hicken BL, Putzke JD, Richards JS. Bladder management and quality of life after spinal cord injury. Am J Phys Med Rehabil2001 Dec;80(12):916-22.

  26. GònzalezM, et al. [12]พบว่าวิธีขับถ่ายปัสสาวะไม่มีความสัมพันธ์กับคะแนนคุณภาพชีวิต [12] Gònzalez Viejo M, Sánchez Raya J, Romero G, Conejero J. Poster 290: Quality of Life Evaluation in Spinal Cord Injury Patients Comparing Different Bladder Management Techniques. Arch Phys Med Rehab 2007 Sep; 88(9): E95-E95.

  27. ข้อจำกัด • กลุ่มประชากรที่ศึกษามีข้อจำกัดทางกาย • แบบสอบถามนี้เน้นเรื่องของปัสสาวะ • เล็ดราดเป็นหลัก

  28. ข้อเสนอแนะ • ควรมีการศึกษาต่อ โดยอาจนำแบบสอบถามคุณภาพชีวิตที่มีความจำเพาะ มาแปลเป็นภาษาไทย และประเมินความน่าเชื่อถือ • พัฒนาแบบสอบถามที่มีความจำเพาะต่อปัญหาการขับถ่ายปัสสาวะที่มีมาตรฐาน

  29. บทสรุป • คะแนนคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย • กระเพาะปัสสาวะพิการจากการบาดเจ็บไขสันหลัง • มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับปานกลาง • ผู้ป่วยที่มีภาวะปัสสาวะเล็ดราด มีแนวโน้มของ • คุณภาพชีวิตที่ต่ำกว่า

  30. คุณค่างานวิจัย เราควรตระหนักถึง ปัญหาปัสสาวะเล็ดราด และผลกระทบต่อชีวิตประจำวันในผู้ป่วยกระเพาะปัสสาวะพิการจากการบาดเจ็บไขสันหลังเพิ่มมากขึ้น

  31. -ขอบคุณครับ- Thank you

More Related