210 likes | 385 Vues
วันนี้และพรุ่งนี้ ชุมชนได้และเสียอะไร. สุ ภิญญา กลางณรงค์ กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ. Digital Road Map : 2555-2559. 2555 2556 2557 2558 2559. กระบวนการออกใบอนุญาต Digital TV ช่วงที่ 1. กระบวนการออกใบ
E N D
วันนี้และพรุ่งนี้ ชุมชนได้และเสียอะไร • สุภิญญา กลางณรงค์ • กรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ • และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ
Digital Road Map:2555-2559 2555 2556 2557 2558 2559 กระบวนการออกใบอนุญาต Digital TV ช่วงที่ 1 กระบวนการออกใบ อนุญาต Mobile TV กระบวนการออกใบอนุญาต Digital TV ช่วงที่ 2 • ช่วงที่ 1 • ก.พ. 2555 - ส.ค. 2556 กระบวนการออกใบอนุญาต Digital TV • มิ.ย. 2556 - มิ.ย. 2557กระบวนการออกใบอนุญาต Mobile TV • ช่วงที่ 2 • มิ.ย. 2557 – ธ.ค. 2558 กระบวนการออกใบอนุญาต Digital TV • เริ่มม.ค. 2558 เริ่มกระบวนการ Analog Switch Off (ASO)
การดำเนินงานของ กสทช. ปี 2555 กุมภาพันธ์ เมษายน กรกฎาคม กันยายน • หลักเกณฑ์การอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่ฯ เพื่อทดลองหรือทดสอบเป็นการชั่วคราว แถลง Digital Thailand Roadmap แผนแม่บทฯ ประกาศใช้ • กำหนดลักษณะและประเภทฯ • หลักเกณฑ์การเผยแพร่กิจการโทรทัศน์ฯ (Must Carry) ตุลาคม พฤศจิกายน ธันวาคม • แผนความถี่วิทยุโทรทัศน์ระบบดิจิตอล • มาตรฐานทางเทคนิคสำหรับการให้บริการฯ ในระบบดิจิตอล • มาตรฐานทางเทคนิคสำหรับเครื่องรับสัญญาณฯ ในระบบดิจิตอล • แผนการเปลี่ยนระบบการรับส่งสัญญาณวิทยุโทรทัศน์เป็นระบบดิจิตอล • หลักเกณฑ์การทดสอบมาตรฐานทางเทคนิคฯ • หลักเกณฑ์และวิธีอนุญาตให้บริการฯ • หลักเกณฑ์การและวิธีอนุญาตให้บริการโครงข่ายฯ • หลักเกณฑ์และวิธีอนุญาตให้บริการสิ่งอำนวยความสะดวกฯ ค่าธรรมเนียมใบอนุญาตประกอบกิจการฯ
การดำเนินงานของ กสทช. ปี 2556 มกราคม กุมภาพันธ์ มีนาคม • หลักเกณฑ์และวิธีการอนุญาตเพิ่มเติมในส่วนการให้บริการโทรทัศน์ในระบบดิจิตอล • หลักเกณฑ์และวิธีอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่เพิ่มเติมในส่วนการให้บริการโครงข่ายฯ • หลักเกณฑ์การจัดทำผังรายการสำหรับการให้บริการฯ • แนวทางการสนับสนุนประชาชนในการเปลี่ยนผ่านฯ • หลักเกณฑ์รายการโทรทัศน์สำคัญฯ (Must Have) • แนวทางออกอากาศช่องรายการโทรทัศน์ระบบแอนะล็อคบนเครือข่ายระบบดิจิตอล • นิยามประเภทช่องรายการโรทัศน์ระบบดิจิตอล • โครงสร้างข้อกำหนดจำนวนช่องรายการฯ ทีวีดิจิตอล เมษายน พฤษภาคม มิถุนายน • มาตรฐานทางเทคนิคสำหรับเครื่องรับสัญญาณโทรทัศน์ฯ (ฉบับที่ 2) • รายงานผลการศึกษาการประเมินมูลค่าคลื่นฯ • (ร่าง) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการประมูลคลื่นฯ ระดับชาติ (อยู่ระหว่างรับฟังความคิดเห็น) • บทวิเคราะห์ความจำเป็นการใช้คลื่นฯ • (ร่าง) หลักเกณฑ์การแพร่เสียงแพร่ภายรายการสำคัญ (Non Exclusive) (อยู่ระหว่างประกาศในราชกิจจานุเบกษา) • (ร่าง) หลักเกณฑ์และวิธีคัดเลือกให้ใช้คลื่นความถี่ในกิจการกระจายเสียง (อยู่ระหว่างดำเนินการประกาศในราชกิจจา-นุเบกษา) • รับฟังความเห็นต่อ (ร่าง) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการประมูลคลื่นฯ ระดับชาติ • การออกแบบตราสัญญาลักษณ์ (โลโก้) และมาสคอตสำหรับการเปลี่ยนผ่านฯ
ช่องรายการโทรทัศน์ภาคพื้นดินช่องรายการโทรทัศน์ภาคพื้นดิน ในระบบดิจิตอล
จำนวนช่องรายการโทรทัศน์ภาคพื้นดินในระบบดิจิตอลจำนวนช่องรายการโทรทัศน์ภาคพื้นดินในระบบดิจิตอล ช่องรายการจำนวน 48 ช่อง กลุ่มที่ 1 ช่องรายการ (เด็ก เยาวชน และครอบครัว) จำนวน 3 SD บริการชุมชน 12 SD กลุ่มที่ 2 ช่องรายการ (ข่าวสารหรือสาระฯ) จำนวน 7 SD บริการสาธารณะ 12 SD กลุ่มที่ 3 ช่องรายการ (ทั่วไป) จำนวน 7 SD บริการธุรกิจ17 SD + 7 SD กลุ่มที่ 4 ช่องรายการ (ทั่วไป) จำนวน 7 HD
(ร่าง) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการประมูลคลื่นฯ ระดับชาติ • อยู่ระหว่างการรับฟังความคิดเห็น (ASTV ผู้จัดการ8 พ.ค. 56)
กำหนดการประมูลทีวีดิจิตอล ประเภทบริการธุรกิจ (กรุงเทพธุรกิจ 27 พ.ค. 56)
ทีวีดิจิตอล บริการสาธารณะ
บริการสาธารณะ เงื่อนไขรายการบริการสาธารณะ คุณสมบัติผู้ขอรับใบอนุญาต ประเภทช่องรายการ • บริการสาธารณะประเภทที่ 1 • และประเภทที่ 3 หารายได้จาก • การโฆษณาไม่ได้ เว้นแต่เป็น • การหารายได้จากการโฆษณา • หรือเผยแพร่ข่าวสารเกี่ยวกับงาน • หรือกิจการของหน่วยงานของรัฐ • หรือรัฐวิสาหกิจ สมาคม มูลนิธิ • หรือนิติบุคคล เพื่อดำเนินกิจการ • เพื่อประโยชน์สาธารณะ โดยไม่ • แสวงหากำไรทางธุรกิจฯ • บริการสาธารณะประเภทที่ 2 • หารายได้จากการโฆษณาได้เท่าที่ • เพียงพอต่อการประกอบกิจการ • โดยไม่เน้นการแสวงหากำไร • กระทรวง ทบวง กรม องค์กร • อิสระตามรัฐธรรมนูญ องค์กร • ปกครองส่วนท้องถิ่น หรือหน่วยงาน • อื่นใดของรัฐที่มิใช่รัฐวิสาหกิจฯ • สมาคม มูลนิธิ หรือนิติบุคคลอื่น • ที่จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายที่มีวัตถุ • ประสงค์ในการดำเนินกิจการเพื่อ • ประโยชน์สาธารณะโดยไม่แสวงหา • กำไรในทางธุรกิจฯ • สถาบันอุดมศึกษาฯ • บริการสาธารณะประเภทที่ 1 • เพื่อส่งเสริมความรู้ การศึกษา • ศิลปวัฒนธรรม วิทยาศาสตร์และ • สิ่งแวดล้อมฯ • บริการสาธารณะประเภทที่ 2 • เพื่อความมั่นคงของรัฐหรือความ • ปลอดภัยสาธารณะ • บริการสาธารณะประเภทที่ 3 • เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดี • ระหว่างรัฐบาลกับประชาชนและ • รัฐสภากับประชาชนฯ
ลำดับการเคลื่อนไหวเรื่องทีวีดิจิตอลบริการสาธารณะลำดับการเคลื่อนไหวเรื่องทีวีดิจิตอลบริการสาธารณะ กุมภาพันธ์ มีนาคม 11 มี.ค. 56 กสท. มีมติกำหนดช่องรายการทีวีดิจิตอลใหม่ จากสูตร 5 5 10 4 เป็น 3 7 7 7 และแบ่งช่องรายการตามวัตถุประสงค์ของแต่ละช่องรายการ 21 มี.ค. 56 รศ.ดร. สุธี ประศาสน์เศรษฐ ผศ. นพนันท์วรรณเทพสกุล และนางสุนทรี หัตถี ทำหนังสือทักท้วงมติของอนุกรรมการฯ บริการสาธารณะ 8 มี.ค. 56 จัดการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อระดมความคิดเห็น ผู้บริโภคกับทีวีดิจิตอล ครั้งที่ 1 “ว่าด้วยทีวีสาธารณะและที่ชุมชนที่อยากเห็น” 20 ก.พ. 56 สภาวิชาชีพข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย และ สมาคมนักข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย ได้ยื่นหนังสือต่อประธาน กสท.เพื่อยื่นข้อเสนอขอให้พิจารณาเลื่อนกรอบระยะเวลาในกระบวนการยื่นขอใบอนุญาต 4 มี.ค. 56 กสท. มีมติแนวทางการออกอากาศคู่ขนาน ในระหว่างเปลี่ยนผ่านสู่ระบบดิจิตอล พฤษภาคม 30 เม.ย. 56 จัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อระดมความคิดเห็น (ร่าง) เกณฑ์การคัดเลือกผู้เหมาะสมให้ใช้คลื่นความถี่ในกิจการโทรทัศน์สำหรับการประกอบกิจการสาธารณะ เมษายน 7 พ.ค. 56 นำ (ร่าง) เกณฑ์การคัดเลือกผู้เหมาะสมให้ใช้คลื่นความถี่ฯ เสนอ กสท. มีนาคม 24 เม.ย. 56 จุฬาฯ ร่วมกับสำนักงาน กสทช. จัดสัมมนาวิชาการ เรื่อง จุดเปลี่ยนประเทศไทย... ทีวีดิจิตอลสาธารณะ 25 มี.ค. 56จัดเวทีประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อระดมความคิดเห็นเรื่องการปฏิรูปสื่อในทีวีดิจิตอลสาธารณะ : รูปแบบที่ควรจะเป็น 21 มี.ค. 56 จัดงาน NBTC Public Forum เรื่อง 2556 ปีทองแห่งการคุ้มครองผู้บริโภคและการเปลี่ยนผ่านสู่ยุคดิจิตอล 22 พ.ค. 56 นำ (ร่าง) เกณฑ์การคัดเลือกผู้เหมาะสมให้ใช้คลื่นความถี่ฯ เสนอ กสทช.
22 พ.ค. 56 นำเสนอ (ร่าง) หลักเกณฑ์การคัดเลือกผู้เหมาะสมให้ใช้คลื่น ความถี่ในกิจการโทรทัศน์ สำหรับการประกอบกิจการบริการสาธารณะ พ.ศ....... ต่อที่ประชุม กสทช. ครั้งที่ 5/2556 30% โครงสร้างบริหารองค์กร 25 เนื้อหารายการ % แผนการเงิน/รายได้ 20 % ธรรมาภิบาล 15 % 10 % เทคนิค
ผังขั้นตอน การอนุญาตให้ใช้คลื่นความถี่สำหรับ การให้บริการโทรทัศน์ในระบบดิจิตอล
ช่องทางการสื่อการกับเราช่องทางการสื่อการกับเรา
www.supinya.com Twitter : @supinya
Facebook: Nbtc Rights Twitter: @NBTCrights